กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ผลการดำเนินงาน
ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดของโครงการ ผลลัพธ์ 1. เพื่อคัดกรองโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 90 ประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายจำนวน 2,046 คน ได้รับการคัดกรอง 2,005 คน ร้อยละ 98 กลุ่มปกติ  1,288 คน    ร้อยละ 64.24 กลุ่มแฝง/เสี่ยง 384 คน  ร้อยละ 19.15 กลุ่มสงสัยเป็นโรค 330 คน ร้อยละ 16.46 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่  จำนวน 2 คน คัดกรองโรคเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2,413 คน คัดกรอง 2,375 คน ร้อยละ 98.43 กลุ่มปกติ  1,856 คน      ร้อยละ 78.15 กลุ่มแฝง/เสี่ยง 446      ร้อยละ 18.78 กลุ่มสงสัยเป็นโรค 71      ร้อยละ 2.99 ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่      จำนวน  7  คน 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง ร้อยละ 40 กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส จำนวน 465 คิดเป็นร้อยละ 56.06 3. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ที่มีค่าน้ำตาลมากกว่าหรือเท่ากับ 100 มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ที่มีค่าน้ำตาลมากกว่าหรือเท่ากับ 100 จำนวน 452 มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 319 คน  คิดเป็นร้อยละ 70.57 4. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีอายุ 35-64 ปี ที่มีความเสี่ยง CVD risk ร้อยละ 50 ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีอายุ 35-64 ปี ที่มีความเสี่ยง CVD risk ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น จำนวน 98 คน ร้อยละ 50 5. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติร้อยละ 70 ผู้ป่วยเบาหวานได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพ
จำนวน 222 คน จากกลุ่มเป้าหมาย 264 คน  คิดเป็นร้อยละ 84.09 2.ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ  ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ เพราะ.......................................................................

3.การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 47,525 บาท ดังนี้

  1. กิจกรรมคัดกรองคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป -ค่าแถบตรวจระดับน้ำตาลในเลือด พร้อมเข็มเจาะ จำนวน 44 กล่อง x 390 บาทเป็นเงิน 17,160 บาท -ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญเข้ารับการคัดกรอง จำนวน 2,200 แผ่น x
    0.50 บาท เป็นเงิน 1,100 บาท รวมเงิน 18,260 บาท (หนึ่งหมื่นแปดพันสองร้อยหกสิบบาทถ้วน)
  2. กิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ ๓อ.๒ส.ในกลุ่มเสี่ยง -ค่าอาหารว่างเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม 465 คน ๆละ25บาท
    เป็นเงิน 11,625 บาท

- ค่าไวนิลโครงการไวนิลปิงปองจราจรชีวิต ๗สี ขนาด๑ x 3 เมตร
จำนวน๒ ป้าย x 600 บาท เป็นเงิน๑,200 บาท - วัสดุในการจัดอบรม 2,000 บาท รวมเงิน 14,825 บาท (หนึ่งหมื่นสี่พันแปดร้อยยี่สิบห้าบาทถ้วน)

  1. จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีอายุ 35-65ปี ที่มีความเสี่ยง CVD risk

- เอกสารชุดละ 5 บาท จำนวน 98 ขุดเป็นเงิน 490 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการและผู้จัด จำนวน103 คน x 1 มื้อ x  25 บาท เป็นเงิน 2,575 บาท - ค่าเครื่องตรวจปริมาณความเค็มในอาหาร 1 เครื่องเป็นเงิน 4,700 บาท รวมเงิน 7,765 บาท (เจ็ดพันเจ็ดร้อยหกสิบห้าบาทถ้วน) 4.กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติ   - ค่าอาหารว่างเครื่องดื่ม 175 คนx 1 มื้อx25บาท เป็นเงิน 4,375 บาท   - ผ้าเช็ดเท้า จำนวน 5 โหล x 300 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท - โลชั่น ขนาด350 ml จำนวน 2 ขวด x 200 บาท เป็นเงิน 400 บาท - สบู่เหลว ขนาด 350 ml จำนวน 2 ขวด x 200 บาทเป็นเงิน 400 บาท รวมเงิน 6,675 บาท (หกพันหกร้อยเจ็ดสิบห้าบาทถ้วน)

งบประมาณเบิกจ่ายจริง 47,525 บาทคิดเป็นร้อยละ 100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ............. .-........................บาท คิดเป็นร้อยละ-


ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะเพื่อการแก้ไข ประชาชนยังไม่เห็นความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ2ส ชอบกินอาหาร รสหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายน้อย ดื่มสุรา สูบบุหรี่  ใช้ผงชูรส เช่น  เครื่องปรุงรส ควรจะเริ่มการดูแลสุขภาพด้วยการปลูกฝังการรณรงค์ตั้งแต่เด็กๆ ทำให้เป็นประจำ ฝึกนิสัยการบริโภคตามหลักสุขบัญญัติ





ลงชื่อ...............................ผู้รายงาน (นางดารุณี มากแก้ว) ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ วันที่ 14 สิงหาคม 256๑

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อคัดกรองคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 90
ตัวชี้วัด : 1.คัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 90
2046.00 0.00

 

2 2.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง ร้อยละ 40
ตัวชี้วัด : 2.กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ.2 ส. ร้อยละ 40
0.00

 

3 ข้อ 3เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 60
452.00

 

4 ข้อ 4 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีอายุ 35-65 ปี ที่มีความเสี่ยง CVD risk ร้อยละ 50
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีอายุ 35-65 ปี ที่มีความเสี่ยง CVD risk ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น ร้อยละ 50
0.00

 

5 ข้อ 5 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติ ร้อยละ 70
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติ ร้อยละ 70
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2763
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 2,200
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 98
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 465
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อคัดกรองคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 90 (2) 2.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง ร้อยละ 40 (3) ข้อ 3เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (4) ข้อ 4 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีอายุ 35-65 ปี ที่มีความเสี่ยง CVD risk ร้อยละ 50 (5) ข้อ 5 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติ ร้อยละ 70

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) กิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ ๓อ.๒ส.ในกลุ่มเสี่ยง (3) กิจกรรมเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX>=100 mg/dL) หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (4) จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง  ที่มีอายุ 35-65ปี ที่มีความเสี่ยง CVD risk (5) กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ควรจะเริ่มการดูแลสุขภาพด้วยการปลูกฝังการรณรงค์ตั้งแต่เด็กๆ ทำให้เป็นประจำ ฝึกนิสัยการบริโภคตามหลักสุขบัญญัติ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh