กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นายสุรศักดิ์พิศภักตร์




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย

ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มกราคม 2560 ถึง 30 สิงหาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มกราคม 2560 - 30 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย ได้ดำเนินการมาทุกปี โดยมีแนวคิดให้ครัวเรือนมีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย รวมทั้งให้ประชาชนตระหนักถึงความสำุคัญของการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลายซึ่งจากผลการดำเนินงานในปี 2559 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ จึงต้องทำควบคู่กันไปทั้งในระดับครัวเรือน และชุมชน โรงเรียน จึงจะมีผลการป้องกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทั้งในบ้านเรือน และชุมชน
  2. เพื่อเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย
  3. ลดอัตราป่วยหรือไม่มีผุู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตพื่นที่ของ รพสต.บ้านนาโหนดไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประขาชนในเขตรับผิดชอบของ รพสต.บ้านนาโหนด เกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ทั้งในระดับครัวเรือน และชุมชน 2.ความชุกของลููกน้ำยุงลายในหมู่บ้านของ รพสต.บ้านนาโหนด ลดต่ำลงกว่าเป้าหมายที่กำหนด 3.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลายในพื้นที่รับผิดชอบของ รพสต.บ้านนาโฆนด ลดลงต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ฝึกอบรม รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้

    วันที่ 20 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาโหนด พร้อมดำเนินกิจกรรมเดินรณรงค์ทำลายแหล้งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายในพื้นที่รับผิดชอบ โดยแบ่งเป็นกลุ่ม 4 กลุ่ม ตามพื้นที่รับผิดชอบ คือ พื้นที่หมู่ที่ 1 พื้นที่หมู่ที่ 3 พื้นที่หมู่ที่ 6 และพื้นที่หมู่ที่ 10 

     

    67 63

    2. ฝึกอบรม และจัดกิจกรรมเดินรณรงค์

    วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ พร้อมเดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายเพื่อสร้างกระแสการตื่นตัวของประชาชน พร้อมแจกจ่ายทรายอะเบท โลชันกันยุง สเปรย์กันยุง และแผ่นความรู้ โดยแบ่งกลุ่มเดินรณงค์เป็น 4 กลุ่มตามเขตรับผิดชอบ ได้แก่ เขตพื้นที่หมู่ที่ 1 พื้นที่หมู่ที่ 3 พื้นที่หมู่ที่ 6 และพื้นที่หมู่ที่ 10 โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเดินรณรงค์ 63 คน 

     

    67 63

    3. จัดกิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ และเดินรณรงค์

    วันที่ 21 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ พร้อมจัดกิจกรรมเดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เพื่อสร้างกระแสแก่ประชาชน พร้อมแจกทรายอะเบท สเปรย์กำจัดยุง โลชั่นทากันยุง โดยแบ่งเป็นกลุ่มตามเขตรับผิดชอบ จำนวน 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุุ่มพื้นที่หมู่ที่ 1 พื้นที่หมู่ที่ 3 พื้นที่หมู่ที่ 6 และพื้นที่หมู่ที่ 10 

     

    67 63

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข พร้อมจัดกิจกรรมเดินรณรงค์ การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย แจกทรายอะเบท สเปรย์กันยุง โลชั้นทากันยุง แผ่นความรุู้ และทำการพ่นหมอกควันในพื้นที่ที่มีความเสี่ยง โดยแบ่งกลุ่มการเดินรณรงค์เป็น 4 กลุ่มตามพื้นที่รับผิดชอบ ได้แก่ พื้นที่หมู่ที่ 1 พื้นที่หมู่ที่ 3 พื้นที่หมู่ที่ 6 และพื้นที่หมู่ที่ 10 โดยทำการเดินรณรงค์ จำนวน 3 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมเดินรณรงค์ ครั้งละ 63 คน และทุดครัวเรือนในพื้นที่ได้รับประโยชน์จากการดำเนินกิจกรรม

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทั้งในบ้านเรือน และชุมชน
    ตัวชี้วัด : ประขาชนในเขตรับผิดชอบของ รพสต.บ้านนาโหนด เกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ทั้งในระดับครัวเรือน และชุมชน

     

    2 เพื่อเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย
    ตัวชี้วัด : ความชุกของลููกน้ำยุงลายในหมู่บ้านของ รพสต.บ้านนาโหนด ลดต่ำลงกว่าเป้าหมายที่กำหนด

     

    3 ลดอัตราป่วยหรือไม่มีผุู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตพื่นที่ของ รพสต.บ้านนาโหนดไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
    ตัวชี้วัด : .อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลายในพื้นที่รับผิดชอบของ รพสต.บ้านนาโหนด ลดลงต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทั้งในบ้านเรือน และชุมชน (2) เพื่อเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย (3) ลดอัตราป่วยหรือไม่มีผุู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตพื่นที่ของ รพสต.บ้านนาโหนดไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุรศักดิ์พิศภักตร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด