กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ หากไม่ได้รับการแก้ไขและประชาชนไม่ได้มีความตระหนักในปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคที่ถูกวิธีอาจทำให้เกิดแพร่ระบาดของโรคมากขึ้นและก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพและชุมชนที่เกิดโรคติดต่อขึ้นในบริเวณกว้าง ฉะนั้นในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อจะต้องได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วน ถูกหลักทางระบาดวิทยาของโรคติดต่อและประชาชนในพื้นที่ต้องให้ความสำคัญและมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคดังกล่าวขึ้น ในการนี้จึงได้จัดทำโครงการภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ควบคุมโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2561และการดำเนินโครงการในครั้งนี้ทางทีมงานหวังเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการทุกท่านได้รับความรู้ได้อย่างเต็มที่และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่่ประชาสัมพันธ์ในพื้นที่ที่เขตรับผิดชอบต่อไป เพื่อลดอัตราการระบาดของโรคในปีต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลแว้งลดลงร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเองและสามารถป้องกันตนเองไม่ให้ป่วย ด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ชุมชนที่มีการระบาดของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลแว้งมีการดำเนินการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 220
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 220
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่ (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ (3) เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฎิบัติการเรื่องโรคไข้หวัดใหญ่/คอตีบ แก่ อสม. คณะกรรมการชุมชนและประชาชนในพื้นที่ (2) จัดอบรมแกนนำควบคุมโรค อสม. อบต. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา (3) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และรณรงค์ร่วมกับอสม.ออกติดตามเด็กที่ป่วยด้วยวัคซีนรวมทั้งฉีดวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์เพื่อป้องกันโรค (4) จัดกิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์โรคอุจจาระร่วง (ร้านอาหารสะอาด บริโภคปลอดภัย)โดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับ อสม.ในหมู่บ้าน ตามร้านอาหารแผงลอย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh