โครงการพัฒนาขีดความสามารถอาสาสมัครสาธารณสุข
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาขีดความสามารถอาสาสมัครสาธารณสุข ”
ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายสตอปา ตาเละ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง
มีนาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาขีดความสามารถอาสาสมัครสาธารณสุข
ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L8300-2-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มีนาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาขีดความสามารถอาสาสมัครสาธารณสุข จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาขีดความสามารถอาสาสมัครสาธารณสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาขีดความสามารถอาสาสมัครสาธารณสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L8300-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มีนาคม 2561 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาศักยภาพ อสม. หมายถึง การส่งเสริม สนับสนุนให้ อสม. ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพกรือซอ โรงพยาบาลแว้ง มีความสามารถในการพัฒนาสาธารณสุขตามแนวพระราชดำริ เร่งรัดมาตรการการสร้างสุขภาพ โดยมีเป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ภาวะความดัน เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิต พัฒนาขีดความสามารถ อสม. โดยสนับสนุนอุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นในการประกอบภารกิจตามที่ได้รับมอบหมาย โดยในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ องค์การบริหารส่วนตำบลแว้งหวังจะผลิต อสม.เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเพื่อให้เห็นผลลัพธ์ ด้านสุขภาพที่ยั่งยืน
ดังนั้น จึงเป็นภารกิจของคณะทำงานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเชี่ยวชาญ (อสม. เชี่ยวชาญ) ชุดนี้ ดำเนินการจัดทำโครงการนี้ขึ้นมา โดยจัดประชุมรวม ๓ ครั้ง ซึ่งเนื้อหาประกอบด้วย ๔ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ข้อแนะนำการใช้หลักสูตร ส่วนที่ ๒ โครงสร้างหลักสูตร (รวมวัตถุประสงค์ มาตรฐานหลักสูตรและคำอธิบายรายวิชา) ส่วนที่ ๓ แผนการสอน ส่วนที่ ๔ คำถาม สำหรับการประเมินผลก่อนและหลังการอบรม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- มีความรู้ มีทักษะ ในสาขานั้น ๆ อย่างถูกต้อง ตามหลักวิชาการ
- สามารถสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมชุมชนในสาขานั้น ๆ
- สามารถบริหารจัดการ วางแผนแก้ไขปัญหาและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน โดยเชื่อมโยงและ บูรณาการกับแผนของชุมชน/ท้องถิ่น โดยใช้งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตำบลและจากแหล่งอื่น ๆ ได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้การทำงานของ อสม.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ชุมชนจะมี อสม.เชี่ยวชาญเฉพาะด้านถูกต้องตามหลักวิชาการ
- ชุมชนสามารถทำกิจกรรมร่วมกับอสม.ที่มีความเชี่ยวชาญตามสาขานั้นๆ
- อสม.สามารถวางแผนการดำเนินงานระบบสุขภาพชุมชนร่วมกับหน่วยงานต่างๆในพื้นที่ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้ในแต่ละความเชี่ยวชาญของ อสม.
วันที่ 20 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในแต่ละความเชี่ยวชาญของ อสม. จัดทำหลักสูตร อสม.เชี่ยวชาญ หมวดวิชา 3 วัน
- ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน
- ดำเนินการอบรมตามแนวทางที่กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ในการจัดโครงการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมชุมชนในสาขานั้นๆ สามารถบริหารจัดการ วางแผนแก้ไขปัญหาและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน โดยเชื่อมโยงและบูรณาการกับแผนของชุมชน/ท้องถิ่น โดยใช้งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตำบลและจากแหล่งอื่นๆ มีความรู้ มีทักษะ ในสาขานั้นๆ อย่างถูกต้อง ตามหลักวิชาการได้ ซึ่งได้รับความสนใจจากประชาชนเป็นอย่างดี กิจกรรมในครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่วางไว้ทุกประการ
100
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ในการจัดโครงการในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้แก่ อสม. และเครือข่าย ในการดูแลสุขภาพภาคประชาชนในพื้นที่และสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายระดับพื้นที่เพื่อให้สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพของงานเป้าหมายที่เป็นกลุ่มวัยต่างๆ ซึ่งได้รับความสนใจจาก อสม.ป็นอย่างดี กิจกรรมในครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่วางไว้ทุกประการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
มีความรู้ มีทักษะ ในสาขานั้น ๆ อย่างถูกต้อง ตามหลักวิชาการ
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนให้ความไว้วางใจในการบริการของ อสม.
2.อสม.มีความมั่นใจในการดำเนินงานด้านสุขภาพต่อชุมชน
3.เป็นเกียรติประวัติเพื่อใช้ประโยชน์ในงานต่อๆไป
0.00
2
สามารถสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมชุมชนในสาขานั้น ๆ
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนให้ความร่วมมือกับ อสม.ในการดำเนินงาน
2.สะดวกในการทำงานทั้งชุมชนและอสม.
3.มีคณะทำงานด้านชุมชนเฉพาะสาขาเพิ่มขึ้น
0.00
3
สามารถบริหารจัดการ วางแผนแก้ไขปัญหาและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน โดยเชื่อมโยงและ บูรณาการกับแผนของชุมชน/ท้องถิ่น โดยใช้งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตำบลและจากแหล่งอื่น ๆ ได้
ตัวชี้วัด : 1.สามารถตัดสินใจเองได้ในเรื่องพื้นฐาน
2.สามารถติดต่อประสานงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ
3.สร้างกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนในการเลือกตามความชำนาญของ อสม.แต่ละคน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) มีความรู้ มีทักษะ ในสาขานั้น ๆ อย่างถูกต้อง ตามหลักวิชาการ (2) สามารถสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมชุมชนในสาขานั้น ๆ (3) สามารถบริหารจัดการ วางแผนแก้ไขปัญหาและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน โดยเชื่อมโยงและ บูรณาการกับแผนของชุมชน/ท้องถิ่น โดยใช้งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตำบลและจากแหล่งอื่น ๆ ได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การทำงานของ อสม.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาขีดความสามารถอาสาสมัครสาธารณสุข จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L8300-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสตอปา ตาเละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาขีดความสามารถอาสาสมัครสาธารณสุข ”
ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายสตอปา ตาเละ
มีนาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L8300-2-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มีนาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาขีดความสามารถอาสาสมัครสาธารณสุข จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาขีดความสามารถอาสาสมัครสาธารณสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาขีดความสามารถอาสาสมัครสาธารณสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L8300-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มีนาคม 2561 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาศักยภาพ อสม. หมายถึง การส่งเสริม สนับสนุนให้ อสม. ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพกรือซอ โรงพยาบาลแว้ง มีความสามารถในการพัฒนาสาธารณสุขตามแนวพระราชดำริ เร่งรัดมาตรการการสร้างสุขภาพ โดยมีเป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ภาวะความดัน เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิต พัฒนาขีดความสามารถ อสม. โดยสนับสนุนอุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นในการประกอบภารกิจตามที่ได้รับมอบหมาย โดยในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ องค์การบริหารส่วนตำบลแว้งหวังจะผลิต อสม.เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเพื่อให้เห็นผลลัพธ์ ด้านสุขภาพที่ยั่งยืน
ดังนั้น จึงเป็นภารกิจของคณะทำงานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเชี่ยวชาญ (อสม. เชี่ยวชาญ) ชุดนี้ ดำเนินการจัดทำโครงการนี้ขึ้นมา โดยจัดประชุมรวม ๓ ครั้ง ซึ่งเนื้อหาประกอบด้วย ๔ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ข้อแนะนำการใช้หลักสูตร ส่วนที่ ๒ โครงสร้างหลักสูตร (รวมวัตถุประสงค์ มาตรฐานหลักสูตรและคำอธิบายรายวิชา) ส่วนที่ ๓ แผนการสอน ส่วนที่ ๔ คำถาม สำหรับการประเมินผลก่อนและหลังการอบรม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- มีความรู้ มีทักษะ ในสาขานั้น ๆ อย่างถูกต้อง ตามหลักวิชาการ
- สามารถสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมชุมชนในสาขานั้น ๆ
- สามารถบริหารจัดการ วางแผนแก้ไขปัญหาและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน โดยเชื่อมโยงและ บูรณาการกับแผนของชุมชน/ท้องถิ่น โดยใช้งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตำบลและจากแหล่งอื่น ๆ ได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้การทำงานของ อสม.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ชุมชนจะมี อสม.เชี่ยวชาญเฉพาะด้านถูกต้องตามหลักวิชาการ
- ชุมชนสามารถทำกิจกรรมร่วมกับอสม.ที่มีความเชี่ยวชาญตามสาขานั้นๆ
- อสม.สามารถวางแผนการดำเนินงานระบบสุขภาพชุมชนร่วมกับหน่วยงานต่างๆในพื้นที่ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้ในแต่ละความเชี่ยวชาญของ อสม. |
||
วันที่ 20 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในการจัดโครงการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมชุมชนในสาขานั้นๆ สามารถบริหารจัดการ วางแผนแก้ไขปัญหาและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน โดยเชื่อมโยงและบูรณาการกับแผนของชุมชน/ท้องถิ่น โดยใช้งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตำบลและจากแหล่งอื่นๆ มีความรู้ มีทักษะ ในสาขานั้นๆ อย่างถูกต้อง ตามหลักวิชาการได้ ซึ่งได้รับความสนใจจากประชาชนเป็นอย่างดี กิจกรรมในครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่วางไว้ทุกประการ
|
100 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ในการจัดโครงการในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้แก่ อสม. และเครือข่าย ในการดูแลสุขภาพภาคประชาชนในพื้นที่และสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายระดับพื้นที่เพื่อให้สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพของงานเป้าหมายที่เป็นกลุ่มวัยต่างๆ ซึ่งได้รับความสนใจจาก อสม.ป็นอย่างดี กิจกรรมในครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่วางไว้ทุกประการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | มีความรู้ มีทักษะ ในสาขานั้น ๆ อย่างถูกต้อง ตามหลักวิชาการ ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนให้ความไว้วางใจในการบริการของ อสม. 2.อสม.มีความมั่นใจในการดำเนินงานด้านสุขภาพต่อชุมชน 3.เป็นเกียรติประวัติเพื่อใช้ประโยชน์ในงานต่อๆไป |
0.00 |
|
||
2 | สามารถสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมชุมชนในสาขานั้น ๆ ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนให้ความร่วมมือกับ อสม.ในการดำเนินงาน 2.สะดวกในการทำงานทั้งชุมชนและอสม. 3.มีคณะทำงานด้านชุมชนเฉพาะสาขาเพิ่มขึ้น |
0.00 |
|
||
3 | สามารถบริหารจัดการ วางแผนแก้ไขปัญหาและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน โดยเชื่อมโยงและ บูรณาการกับแผนของชุมชน/ท้องถิ่น โดยใช้งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตำบลและจากแหล่งอื่น ๆ ได้ ตัวชี้วัด : 1.สามารถตัดสินใจเองได้ในเรื่องพื้นฐาน 2.สามารถติดต่อประสานงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ 3.สร้างกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนในการเลือกตามความชำนาญของ อสม.แต่ละคน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) มีความรู้ มีทักษะ ในสาขานั้น ๆ อย่างถูกต้อง ตามหลักวิชาการ (2) สามารถสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมชุมชนในสาขานั้น ๆ (3) สามารถบริหารจัดการ วางแผนแก้ไขปัญหาและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน โดยเชื่อมโยงและ บูรณาการกับแผนของชุมชน/ท้องถิ่น โดยใช้งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตำบลและจากแหล่งอื่น ๆ ได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การทำงานของ อสม.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาขีดความสามารถอาสาสมัครสาธารณสุข จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L8300-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสตอปา ตาเละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......