โครงการรณรงค์และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายสตอปา ตาเละ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง
มีนาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L8300-2-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2561 ถึง 19 มีนาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L8300-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2561 - 19 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,325.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ไข้เลือดออกเป็นโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะของโรคนอกจากจะเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขของประเทศไทยแล้วยังเป็นปัญหาสาธารณสุขทั่วโลกโดยเฉพาะในประเทศไทยที่เป็นเขตร้อนชื้นเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายAedes aegyitตัวเมียกัดคนที่ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกโดยเฉพาะช่วงที่มีไข้สูงหากยุงกัดคนในช่วงนี้ก็จะรับเชื้อไวรัสมาแพร่ให้กับคนอื่นซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นเด็กและในปัจจุบันพบว่ามีอัตราการเกิดโรคกับผู้ใหญ่และมีจำนวนมากขึ้นทุกปีโรคนี้มักจะระบาดในช่วงฤดูฝนยุงลายชอบออกหากินในเวลากลางวันตามบ้านเรือน โรงเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสถานที่ราชการและชอบวางไข่ตามภาชนะที่มีน้ำขังเช่นยางรถยนต์จานรองขาตู้กับข้าวเป็นต้น
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลแว้ง ได้ตระหนักถึงความปลอดภัยของสุขภาพประชาชนจึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกประจำปี2561ขึ้นโดยรณรงค์จำนวน2ครั้งให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลแว้งโดยให้ อสม. ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง ออกปฏิบัติหน้าที่ในการพ่นเคมีกำจัดยุงลายและให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลแว้งครอบคลุมทุกครัวเรือนเพื่อกำจัดยุงลายซึ่งเป็นพาหนะนำโรคไข้เลือดออกและเพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกและเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราผู้ป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออก
- เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก
- เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือกออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้แนวทางการใช้เครื่องพ่นหมอกควันสะพายไหล่ควบคุมโรคไข้ลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในพื้นที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกและแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายถูกทำลาย
2.จำนวนอัตราผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
3.ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันพาหะนำโรคเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้คณะทำงานเพื่อลงปฏิบัติงานในชุมชน
วันที่ 19 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ
1. ประชุมวางแผนเตรียมการ
2. จัดทำโครงการ อบรมคณะทำงาน ให้ความรู้เพื่อปฏิบัติงานในชุมชน
3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และลงพื้นที่ กำหนดเวลาแน่นอน 2 ครั้ง ต่อปี และ ไม่กำหนดเวลาตายตัว 4 ครั้งต่อปี ตามสถานการณ์ระบาดในแต่ละชุมชน
4. ดำเนินการให้บริการพ่นหลอกควัน
5. สรุปผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงานต่อผู้บริหาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โครงการรณรงค์และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก เป็นโครงการรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในหารดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่องและกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไม่ให้เกิดระบาดของโรคไข้เลือดออกและลดอัตราผู้ป่งยด้วยโรคไข้เลือดออก
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ในการจัดโครงการในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือกออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง และกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก ซึ่งได้รับความสนใจจากประชาชนป็นอย่างดี กิจกรรมในครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่วางไว้ทุกประการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดอัตราผู้ป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อไข้เลือดออกที่เป็นปัญหาในพื้นที่ทำให้มีโอกาสระบาดสู่คนอื่น
0.00
2
เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ในการป้องกันพาหะนำโรคเพื่อลดการระบาดของโรคไข้เลือดออก
0.00
3
เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือกออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 1.ชุมชนที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกที่เป็นปัญหาในพื้นที่ให้มีการดำเนินการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
2.ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้โดยชุมชน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราผู้ป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือกออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แนวทางการใช้เครื่องพ่นหมอกควันสะพายไหล่ควบคุมโรคไข้ลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L8300-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสตอปา ตาเละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายสตอปา ตาเละ
มีนาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L8300-2-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2561 ถึง 19 มีนาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L8300-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2561 - 19 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,325.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ไข้เลือดออกเป็นโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะของโรคนอกจากจะเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขของประเทศไทยแล้วยังเป็นปัญหาสาธารณสุขทั่วโลกโดยเฉพาะในประเทศไทยที่เป็นเขตร้อนชื้นเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายAedes aegyitตัวเมียกัดคนที่ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกโดยเฉพาะช่วงที่มีไข้สูงหากยุงกัดคนในช่วงนี้ก็จะรับเชื้อไวรัสมาแพร่ให้กับคนอื่นซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นเด็กและในปัจจุบันพบว่ามีอัตราการเกิดโรคกับผู้ใหญ่และมีจำนวนมากขึ้นทุกปีโรคนี้มักจะระบาดในช่วงฤดูฝนยุงลายชอบออกหากินในเวลากลางวันตามบ้านเรือน โรงเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสถานที่ราชการและชอบวางไข่ตามภาชนะที่มีน้ำขังเช่นยางรถยนต์จานรองขาตู้กับข้าวเป็นต้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลแว้ง ได้ตระหนักถึงความปลอดภัยของสุขภาพประชาชนจึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกประจำปี2561ขึ้นโดยรณรงค์จำนวน2ครั้งให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลแว้งโดยให้ อสม. ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง ออกปฏิบัติหน้าที่ในการพ่นเคมีกำจัดยุงลายและให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลแว้งครอบคลุมทุกครัวเรือนเพื่อกำจัดยุงลายซึ่งเป็นพาหนะนำโรคไข้เลือดออกและเพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกและเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราผู้ป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออก
- เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก
- เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือกออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้แนวทางการใช้เครื่องพ่นหมอกควันสะพายไหล่ควบคุมโรคไข้ลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในพื้นที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกและแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายถูกทำลาย 2.จำนวนอัตราผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง 3.ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันพาหะนำโรคเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้คณะทำงานเพื่อลงปฏิบัติงานในชุมชน |
||
วันที่ 19 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ1. ประชุมวางแผนเตรียมการ
2. จัดทำโครงการ อบรมคณะทำงาน ให้ความรู้เพื่อปฏิบัติงานในชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโครงการรณรงค์และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก เป็นโครงการรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในหารดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่องและกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไม่ให้เกิดระบาดของโรคไข้เลือดออกและลดอัตราผู้ป่งยด้วยโรคไข้เลือดออก
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ในการจัดโครงการในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือกออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง และกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก ซึ่งได้รับความสนใจจากประชาชนป็นอย่างดี กิจกรรมในครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่วางไว้ทุกประการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอัตราผู้ป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อไข้เลือดออกที่เป็นปัญหาในพื้นที่ทำให้มีโอกาสระบาดสู่คนอื่น |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ในการป้องกันพาหะนำโรคเพื่อลดการระบาดของโรคไข้เลือดออก |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือกออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : 1.ชุมชนที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกที่เป็นปัญหาในพื้นที่ให้มีการดำเนินการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก 2.ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้โดยชุมชน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราผู้ป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือกออกในบ้านตนเองอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แนวทางการใช้เครื่องพ่นหมอกควันสะพายไหล่ควบคุมโรคไข้ลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 61-L8300-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสตอปา ตาเละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......