กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการบ้านแป-ระใต้ร่วมใจ ลดโลกร้อน ลดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านแป-ระใต้




ชื่อโครงการ โครงการบ้านแป-ระใต้ร่วมใจ ลดโลกร้อน ลดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านแป-ระใต้ร่วมใจ ลดโลกร้อน ลดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านแป-ระใต้ร่วมใจ ลดโลกร้อน ลดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านแป-ระใต้ร่วมใจ ลดโลกร้อน ลดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาวะโลกร้อนกำลังเป็นปัญหาที่สำคัญของโลกที่ทุกประเทศ ต่างก็เร่งระดมวิธีการแก้ไขปัญหาสำคัญปัญหานี้ ในระดับสากลมีมติร่วมกันที่จะลดสภาวะโลกร้อนให้สำเร็จโดยเร็ว มิฉะนั้นโลกจะประสบปัญหาภัยน้ำท่วม ปัญหาภัยพิบัติต่างๆ และปัญหาโรคอุบัติการณ์ใหม่ๆ จะส่งผลกระทบต่อชีวิตและความเป็นสุขของมวลมนุษย์ชาติทั้งปวง แต่การแก้ปัญหาเพื่อลดสภาวะโลกร้อน มิใช่เรื่องง่ายนักเพราะเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของการประกอบธุรกิจ การดำรงชีวิตประจำวัน และความสนใจต่อปัญหาส่วนรวม แต่อย่างไรก็ตามนานาประเทศก็มิได้ละเลยต่อปัญหานี้ ดังจะเห็นได้จากนโยบายของแต่ละประเทศที่กำหนดมาตรการอย่างจริงจังต่อการแก้ไขปัญหาโลกร้อน ในส่วนของประเทศไทย รัฐบาลและหน่วยงานที่รับผิดชอบต่างก็เร่งระดมความคิด กำหนดแนวทางจัดหางบประมาณและทำความเข้าใจให้ทุกภาคส่วนมีความตระหนัก และสนใจที่จะร่วมกันแก้ไขปัญหาสภาวะโลกร้อนก่อให้เกิดปัญหา อาทิเช่น การเกิดภัยพิบัติต่างๆที่เพิ่มจำนวนครั้งมากขึ้น อีกทั้งยังเพิ่มความรุนแรงมากขึ้นจนทำให้เกิดโศกนาฏกรรมรุนแรง เป็นความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน สำหรับโลกร้อนที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์นั้นมีความหลากหลาย อาทิเช่น ปัญหาโรคไข้เลือดออก จากปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันที่ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ซึ่งมีสาเหตุมาจากการเพิ่มขึ้นของประชากรการขยายตัวของเมืองการขยายตัวภาคอุตสาหกรรมมลพิษสิ่งแวดล้อมทั้งทางกายภาพ สังคม และสุขภาพของประชาชน ก่อให้เกิดปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน และส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยและความเป็นอยู่ของประชาชนซึ่งหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับโลกมีแนวคิดในเรื่องการใช้ประโยชน์จากการสุขาภิบาลนำไปใช้ประโยชน์และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และรัฐบาลมีนโยบายกำหนดให้ทุกกระทรวงดำเนินการตามยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ประเด็นสำคัญหนึ่งของสภาวะโลกร้อนที่รัฐบาลให้ความสำคัญ และพยายามดำเนินการอย่างจริงจัง ได้แก่การมีส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งยังคงเป็นปัญหาเนื่องจากประชาชนมีส่วนร่วมน้อย การที่ประชาชนมีส่วนร่วมน้อยปัญหาการแก้ไขสภาวะโลกร้อนก็ยิ่งยุ่งยากมากขึ้น แต่การที่จะทำให้ประชาชนมีส่วนร่วมได้นั้น ภาครัฐจะต้องมีกลวิธีที่เหมาะสมด้วย แต่สำหรับกระทรวงสาธารณสุขนั้น การมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญยิ่ง ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินการมานานเกือบ ๓๐ปี ส่งผลให้ปัญหาสุขภาพลดความรุนแรงและภาคประชาชนมีความเข้มแข็ง สามารถดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้ในระดับหนึ่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเป็นหน่วยงานภายใต้การกับกับดูแลของกระทรวงสาธารณสุข และเป็นหน่วยงานที่อยู่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด ในฐานะที่เป็นภาครัฐ และมีส่วนร่วมในการลดสภาวะโลกร้อนจึงได้จัดทำโครงการบ้านแป-ระใต้ร่วมใจ ลดภัย สู้โลกร้อนขึ้น เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นของการดำเนินการร่วมมือกันแก้ไขสภาวะโลกร้อน ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาที่ยั่งยืนในโอกาสต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องสภาวะโลกร้อนที่มีผลต่อสุขภาพและอาจเป็นปัจจัยทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อได้เพิ่มมากขึ้น
  2. ๒.เพื่อสร้างกระแสสังคม และประชาชนมีส่วนร่วมเพื่อลดสภาวะโลกร้อน
  3. ๓. เพื่อพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  2. จัดประกวดบ้านสะอาด อนามัยดี ชีวีสมบูรณ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนมีความรู้เรื่องสภาวะโลกร้อนที่มีผลต่อสุขภาพและอาจเป็นปัจจัยทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เป็นส่วนหนึ่งในการลดโลกร้อนร้อนได้ ๒. ประชาชนมีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการแก้ไขสภาวะโลกร้อน ๓. งานอนามัยสิ่งแวดล้อมพัฒนาตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ๑.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ

วันที่ 31 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ให้ความรู้แก่แกนนำ เรื่อง
  1. การเป็นส่วนหนึ่งในการลดโลกร้อน
  2. การคัดแยกและกำจัดขยะที่ถูกวิธีและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
  3. กิจกรรมลดโลกร้อนด้วยมือเรา
  4. การทำน้ำหมัก น้ำยาเอนกประสงค์จากเศษอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้เรื่องการลดสภาวะโลกร้อน และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  2. ประชาชนมีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสภาวะโลกร้อน

 

60 0

2. จัดประกวดบ้านสะอาด อนามัยดี ชีวีสมบูรณ์

วันที่ 31 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประกวดบ้านที่เข้าร่วมโครงการและเข้าร่วมอบรม ตามเกณฑ์ที่กำหนดแต่ละส่วน
ส่วนที่ 1 ลักษณะของบ้านและบริเวณโดยรอบ - ห้องน้ำ ห้องส้วม - ห้องนอน - ห้องครัว - น้ำอุปโภค บริโภค - การจัดการขยะมูลฝอย - การจัดการน้ำเสียครัวเรือน -การควบคุมสัตว์และแมลงพาหะนำโรค - สารเคมีและความปลอดภัย ส่วนที่2 พฤกรรมสุขอนามัยในครัวเรือน ส่วนที่3 การมีส่วนร่วมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการรักษาดูแลบ้านเรือนของตนเพื่อความสะอาดในการการใช้ชีวิตประจำวัน

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องสภาวะโลกร้อนที่มีผลต่อสุขภาพและอาจเป็นปัจจัยทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อได้เพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ75 ประชาชนมีความรู้เรื่องสภาวะโลกร้อนที่มีผลต่อสุขภาพและอาจเป็นปัจจัยทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อได้เพิ่มมากขึ้น
0.00 80.00

 

2 ๒.เพื่อสร้างกระแสสังคม และประชาชนมีส่วนร่วมเพื่อลดสภาวะโลกร้อน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนมีส่วนร่วมเพื่อลดสภาวะโลกร้อน
0.00 80.00

 

3 ๓. เพื่อพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital
ตัวชี้วัด :
0.00 75.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องสภาวะโลกร้อนที่มีผลต่อสุขภาพและอาจเป็นปัจจัยทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อได้เพิ่มมากขึ้น (2) ๒.เพื่อสร้างกระแสสังคม และประชาชนมีส่วนร่วมเพื่อลดสภาวะโลกร้อน (3) ๓. เพื่อพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) จัดประกวดบ้านสะอาด อนามัยดี ชีวีสมบูรณ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบ้านแป-ระใต้ร่วมใจ ลดโลกร้อน ลดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านแป-ระใต้ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด