กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย


“ ปิงปอง 7 สี ต้านภัยโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน (ม.3 ต.น้ำน้อย ) ”

ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุรีย์ มงคลนิสภกุล

ชื่อโครงการ ปิงปอง 7 สี ต้านภัยโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน (ม.3 ต.น้ำน้อย )

ที่อยู่ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ปิงปอง 7 สี ต้านภัยโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน (ม.3 ต.น้ำน้อย ) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปิงปอง 7 สี ต้านภัยโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน (ม.3 ต.น้ำน้อย )



บทคัดย่อ

โครงการ " ปิงปอง 7 สี ต้านภัยโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน (ม.3 ต.น้ำน้อย ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,100.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ปัญหากลุ่มโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคเบาหวาน ภาวะความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดกำลังเป็น ปัญหาสาธารณสุข โดยมีสาเหตุจากปัจจัยเสี่ยงจากการมีวิถีชีวิตที่ไม่เหมาะ เช่น การออกกำลังกาย กาบริโภค อาหารที่ไม่ได้สัดส่วน การบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม การจัดการความเครียดที่ไม่เหมาะสม การดื่มเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ เป็นต้น เขตพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.น้ำน้อยเป็นอีกที่หนึ่งที่มีสาเหตุการตายหลักของประชากร ที่เป็น 10 อันดับโรคที่เกิดต่อเนื่องกันมา คือ โรคความดัน เบาหวาน มะเร็ง และรวมถึงภาวะแทรกซ้อนรุนแรงที่ตามมา ส่งผลคุกคามต่อชีวิต เพื่อลดการเกิดโรคเบาหวาน ความดัน รวมถึงการลดภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดตามมา ส่งผลต่อความพิการ การเสียชีวิตของคนในพื้นที่ แกนนำ อสม ม.3 ปิงปอง 7 สี ต้านภัยโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน (ม.3 ต.น้ำน้อย ) สู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชนเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (โรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง) ปัจจุบันสาเหตุการเจ็บป่วย การตายของประชาชนเกิดจากโรคที่ไม่ติดต่อ และสามารถป้องกันได้ เหมือนอย่างที่ทราบกันโดยทั่วไปว่า โรคที่เป็นสาเหตุใหญ่ตอนนี้คือ โรคเบาหวาน ความดัน ดังสถิติและข้อมูลสนับสนุนจากผลการคัดกรอง เบาหวานความดันในแต่ละปี จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ที่เพิ่มขึ้น และสาเหตุการตายในแต่ละปี รวมถึงจำนวนผู้ป่วยที่รพ.ส่งกลับติดตามเยี่ยมพบว่าสาเหตุหลักจากเบาหวาน ความดันเช่นกัน ดังสถิตินี้ 1.จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ เบาหวาน ความดัน ในเขต รพ.สต.น้ำน้อย ปี 2558-2560 พ.ศ. เบาหวานรายใหม่(คน) ความดันรายใหม่(คน) 2558 11 38 2559 12 23 2560 8 37 2.จำนวนผู้ป่วยเยี่ยมบ้านที่ส่งกลับจากภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ความดัน
ในเขต รพ.สต.น้ำน้อย ปี 2558-2560 พ.ศ. จำนวนผู้ป่วยที่รพ.ส่งกลับมาติดตามเยี่ยมจากภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ความดัน(คน) 2558 4 2559 15 2560 12 3.สาเหตุการตาย 10 อันดับแรก ในเขต รพ.สต.น้ำน้อย ปี 2558-2560 สาเหตุการตาย 10 อันดับแรก เขต รพ.สต.น้ำน้อย ปี2558 ลำดับ ชื่อโรค ชาย หญิง รวม 1 วัยชรา 1 4 5 2 ความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ (ปฐมภูมิ) 1 2 3 3 มะเร็ง ณ จุดเริ่มของหลอดลมและปอด 3 0 3 4 ไตวายเฉียบพลัน ไม่ระบุรายละเอียด 1 1 2 5 การติดเชื้อในกระแสเลือด ไม่ระบุชนิด 2
2 6 ไตวายเรื้อรัง ไม่ระบุรายละเอียด 2 0 2 7 วัณโรคปอด ไม่ระบุการยืนยันด้วยผลการตรวจหาเชื้อหรือการตรวจชิ้นเนื้อ 1 0 1 8 เบาหวานชนิดที่ต้องพึ่งอินซูลิน ร่วมกับภาวะแทรกซ้อนทางไต 1 0 1 9 เยื่อหุ้มปอดอักเสบ 1 0 1 10 ผู้ใช้รถจักรยานบาดเจ็บเพราะชนกับคนเดินเท้าหรือสัตว์ 1 0 1

สาเหตุการตาย 10 อันดับแรก เขต รพ.สต.น้ำน้อย ปี 2559 ลำดับ ชื่อโรค ชาย หญิง รวม 1 วัยชรา 3 5 8 2 ความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ (ปฐมภูมิ) 1 5 6 3 โรคอัมพาตฉับพลัน ไม่ระบุว่าเกิดจากเลือดออกหรือเนื้อสมองตายเพราะขาดเลือด 4 1 5 4 เบาหวานชนิดที่ไม่ต้องพึ่งอินซูลิน ไม่มีภาวะแทรกซ้อน 1 3 4 5 ไตวายเฉียบพลัน ไม่ระบุรายละเอียด 1 2 3 6 โรคเสื่อมของสมองในวัยชรา มิได้จำแนกไว้ที่ใด 1 2 3 7 โรคหัวใจ ไม่ระบุรายละเอียด 1 1 2 8 เนื้องอกร้ายของเต้านม ไม่ระบุตำแหน่ง 0 2 2 9 มะเร็ง ณ จุดเริ่มของตับ ถุงน้ำดี และท่อน้ำดี 2 0 2 10 มะเร็ง ณ จุดเริ่มของหลอดลมและปอด 2 0 2

สาเหตุการตาย 10 อันดับแรก เขต รพ.สต.น้ำน้อย 2560 ลำดับ ชื่อโรค ชาย หญิง รวม 1 ความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ (ปฐมภูมิ) 3 7 10 2 โรคอัมพาตฉับพลัน ไม่ระบุว่าเกิดจากเลือดออกหรือเนื้อสมองตายเพราะขาดเลือด 3 5 8 3 วัยชรา 1 2 3 4 โรคเสื่อมของสมองในวัยชรา มิได้จำแนกไว้ที่ใด 1 2 3 5 เบาหวานชนิดที่ต้องพึ่งอินซูลิน ร่วมกับภาวะแทรกซ้อนทางไต 1 1 2 6 ไตวายเฉียบพลัน ไม่ระบุรายละเอียด 0 2 2 7 สาเหตุการตายอื่นที่ไม่ชัดเจนและไม่ระบุรายละเอียด 1 0 1 8 มะเร็ง ณ จุดเริ่มของเต้านม 0 1 1 9 เบาหวานชนิดที่ไม่ต้องพึ่งอินซูลิน ไม่มีภาวะแทรกซ้อน 0 1 1 10 มะเร็ง ณ จุดเริ่มของริมฝีปาก ช่องปาก และคอหอย 1 0 1 ดังนั้น จากการประชุมวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพชุมชนแล้ว จึงเห็นควรนำกิจกรรมปิงปอง 7 สี ต้านภัยโรคเบาหวาน ความดัน มาเป็นแรงขับเคลื่อนในการส่งเสริม กระตุ้นให้ประชาชนมีความตื่นตัวในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่ สนใจดูแลสุขภาพออกมาตรวจวัดความดันและตรวจน้ำตาลสม่ำเสมออย่างน้อย 6 เดือนต่อครั้ง
  2. ลดการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
  3. ลดการเกิดผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแบบเฉียบพลัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมย่อย ดำเนินกิจกรรมปิงปอง7 สี หมุนเวียนไปตามจุดรวมชุมชนที่กำหนดในพื้นที่ - ในชุมชน ม.3 - วัดน้ำน้อยใน - ศสมช.
  2. กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้และตื่นตัวในการเฝ้าระวังโรคเบาหวานความดันมากขึ้น
  2. ไม่เกิดผู้ป่วยเบาหวาน ความดัน รายใหม่ในปีงบประมาณ 2561 ในกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบ
  3. เกิดแกนนำส่งเสริมสุขภาพในชุมชน
  4. เกิดมาตรการทางสังคมในการสร้างสุขภาพของชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินงานตามกิจกรรมครบทุกกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย 20 คน มีการรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่ สนใจดูแลสุขภาพออกมาตรวจวัดความดันและตรวจน้ำตาลสม่ำเสมออย่างน้อย 6 เดือนต่อครั้ง คัดกรองเบาหวาน คัดกรองความดัน ทำให้สามารถลดภาวะโลกความดัน เบาหวาน และโรคหลอดเลือสมองเฉียบพลัน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่ สนใจดูแลสุขภาพออกมาตรวจวัดความดันและตรวจน้ำตาลสม่ำเสมออย่างน้อย 6 เดือนต่อครั้ง
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนที่อายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชนได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดัน ร้อยละ 100 ในปี 2561 2 กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดัน เกิดภาวะแทรกซ้อนเป็นผู้ป่วยติดเตียง ร้อยละ 0 ในปี 2561
0.00

 

2 ลดการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1. ไม่เกิดผู้ป่วยโรคความดันรายใหม่มากกว่า 5 คนต่อปี 2. ไม่เกิดผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่มากกว่า 5 คนต่อปี
0.00

 

3 ลดการเกิดผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแบบเฉียบพลัน
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยที่รพ.ส่งกลับมาติดตามเยี่ยมจากภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ความดัน ไม่เกิน 5 คนต่อปี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่ สนใจดูแลสุขภาพออกมาตรวจวัดความดันและตรวจน้ำตาลสม่ำเสมออย่างน้อย 6 เดือนต่อครั้ง (2) ลดการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน (3)  ลดการเกิดผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแบบเฉียบพลัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมย่อย ดำเนินกิจกรรมปิงปอง7 สี หมุนเวียนไปตามจุดรวมชุมชนที่กำหนดในพื้นที่ - ในชุมชน ม.3 - วัดน้ำน้อยใน - ศสมช. (2) กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ปิงปอง 7 สี ต้านภัยโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน (ม.3 ต.น้ำน้อย ) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุรีย์ มงคลนิสภกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด