กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง


“ โครงการส่งเสริมด้านพัฒนาการและโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี เด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาเต๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมด้านพัฒนาการและโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี เด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5303-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมด้านพัฒนาการและโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี เด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมด้านพัฒนาการและโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี เด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมด้านพัฒนาการและโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี เด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5303-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันการดูแลสุขภาพ ควรให้ความสำคัญตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยสูงอายุ และหากมีการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มวัยต่างๆ อย่างเป็นระบบ สอดคล้อง และต่อเนื่อง จะเป็นการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่เกิดโรคก่อนวัยอันควร มีพัฒนาการครอบครัวเหมาะสม มีวิถีชีวิตที่เหมาะสม พอเพียง ส่งผลต่อชุมชนในการสร้างสุขอย่างแท้จริง จากการคืนข้อมูลสุขภาพของชุมชน พบว่า เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละ 87.43 (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ 95) , เด็กที่มีโภชนาการสมส่วนเพียงร้อยละ 40.32 (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ 50) โดยมีแนวโน้มเด็กอ้วน ผอมและเตี้ยเพิ่มขึ้น ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะทุพโภชนาการ อาจเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น พันธุกรรม การศึกษาของพ่อแม่ ภาวะสุขภาพขณะตั้งครรภ์ ฐานะความเป็นอยู่ของครอบครัวที่มีความยากจน การเลือกรับประทานอาหารของเด็กที่ไม่เหมาะสมทำให้เกิดการขาดสารอาหาร และส่งผลต่อพัฒนาการที่ดีของเด็กในระยะยาว รวมถึงพฤติกรรมการเลี้ยงดูของพ่อแม่และญาติ ที่มักปล่อยเด็กให้เล่นและกินอาหารที่ชอบ ให้เงินไปซื้อตามคำขอของเด็ก ก็ถือว่าดีแล้ว ประกอบกันการที่พ่อแม่และญาติมีภาระในการประกอบอาชีพ จึงขาดความใส่ใจในการรับประทานอาหารของเด็กเท่าที่ควร จึงส่งผลให้เด็กที่มีเงินพอจะซื้อของกิน อ้วนจากอาหารที่ไม่เหมาะสม และส่งผลให้เตี้ยด้วย ในบางรายไม่ได้กินอาหารที่มีประโยชน์และเพียงพอ กินแต่ข้าวและน้ำปูมาเลย์ ไม่ได้รับโปรตีนตามความต้องการในช่วงวัย จึงเกิดภาวะผอมและเตี้ยเช่นกันนอกจากนี้ ในเด็กก่อนวัยเรียน พบว่า มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า จำนวน 11 คน ส่วนเด็กวัยเรียน มีภาวะทุพโภชนาการ ซึ่งจะทำให้เกิดปัญหาด้านการเจริญเติบโตตามวัย พัฒนาการทางสมอง สายตา ความจำ และการเรียนรู้แม้ในโรงเรียนจะดำเนินโครงการสุขบัญญัติแห่งชาติแล้ว ก็ยังพบปัญหาสุขภาพด้านทุพโภชนาการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในทุกชั้นปี ทำให้หน่วยบริการต้องวางแผนงาน/แนวทางแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับปัญหาที่เกิดขึ้น และบริบทพื้นที่ โดยอาจเริ่มจากครอบครัว ได้แก่ ผู้ปกครองเด็กและญาติ ที่ต้องคัดกรองภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กอย่างสม่ำเสมอ ทุกช่วงวัย เพื่อให้สามารถแก้ไขและส่งเสริมสุขภาพได้ทันท่วงที ก่อนเกิดเป็นปัญหาที่เรื้อรังและแก้ไขไม่ทันการณ์ กระตุ้นการพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ปกครอง ญาติ ครู เจ้าหน้าที่ ในการแก้ไขภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการในระยะยาว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาเต๊ะ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพเด็กทั้งด้านโภชนาการ พัฒนาการสมวัยอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ จึงได้จัดโครงการส่งเสริมด้านพัฒนาการและโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี เด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน ปีงบประมาณ 2561 โดยมุ่งเน้นให้กลุ่มวัยดังกล่าว ได้รับการส่งเสริมสุขภาพครอบคลุมทุกด้านอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสร้างกระแสสุขภาพที่เหมาะสมให้แก่ผู้ปกครอง ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การบริโภคอาหารที่เหมาะสมและสุขบัญญัติแห่งชาติ
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์
  2. 2. ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ
  3. 6. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
  4. 3. ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครกลุ่มเป้าหมายที่สนใจในการร่วมกิจกรรมแต่ละกิจกรรม และเชิญร่วมกิจกรรมตามแผนฯ
  5. 4. ร่วมกันจัดนิทรรศการความรู้เรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกหน่วยบริการ
  6. 5 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย 5.1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย สำหรับกลุ่มผู้ปกครองหรือผู้ดูแล รวมถึงแกนนำครอบครัวหรือ อสม.ในเขตดูแลใกล้เคียงที่มีเด็กกลุ่มเป้าหมายฯ พักอาศัยอยู่
  7. 5 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย 5.2 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริโภคอาหารที่มีประโยชน์และส่งเสริมสุขบัญญัติแห่งชาติ สำหรับกลุ่มผู้ปกครองเด็ก
  8. 7. ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 175
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การบริโภคอาหารที่เหมาะสมและสุขบัญญัติแห่งชาติเพิ่มขึ้น
  2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
  3. กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์

วันที่ 15 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ  เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การบริโภคอาหารที่เหมาะสมและสุขบัญญัติแห่งชาติเพิ่มขึ้น
  2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
  3. กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน

 

0 0

2. 2. ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ

วันที่ 12 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การบริโภคอาหารที่เหมาะสมและสุขบัญญัติแห่งชาติเพิ่มขึ้น
  2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
  3. กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน

 

0 0

3. 6. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ

- คัดกรองพัฒนาการและกระตุ้นพัฒนาการตามวัยในเด็กกลุ่มเป้าหมาย - ประเมินผลภาวะโภชนาการสมส่วน ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การบริโภคอาหารที่เหมาะสมและสุขบัญญัติแห่งชาติเพิ่มขึ้น
  2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
  3. กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน

 

0 0

4. 4. ร่วมกันจัดนิทรรศการความรู้เรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกหน่วยบริการ

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

ร่วมกันจัดนิทรรศการความรู้เรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกหน่วยบริการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การบริโภคอาหารที่เหมาะสมและสุขบัญญัติแห่งชาติเพิ่มขึ้น
  2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
  3. กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน

 

0 0

5. 3. ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครกลุ่มเป้าหมายที่สนใจในการร่วมกิจกรรมแต่ละกิจกรรม และเชิญร่วมกิจกรรมตามแผนฯ

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครกลุ่มเป้าหมายที่สนใจในการร่วมกิจกรรมแต่ละกิจกรรม และเชิญร่วมกิจกรรมตามแผนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การบริโภคอาหารที่เหมาะสมและสุขบัญญัติแห่งชาติเพิ่มขึ้น
  2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
  3. กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน

 

0 0

6. 5 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย 5.1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย สำหรับกลุ่มผู้ปกครองหรือผู้ดูแล รวมถึงแกนนำครอบครัวหรือ อสม.ในเขตดูแลใกล้เคียงที่มีเด็กกลุ่มเป้าหมายฯ พักอาศัยอยู่

วันที่ 23 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย สำหรับกลุ่มผู้ปกครองหรือผู้ดูแล รวมถึงแกนนำครอบครัวหรือ อสม.ในเขตดูแลใกล้เคียงที่มีเด็กกลุ่มเป้าหมายฯ พักอาศัยอยู่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การบริโภคอาหารที่เหมาะสมและสุขบัญญัติแห่งชาติเพิ่มขึ้น
  2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
  3. กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน

 

175 0

7. 7. ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต.

วันที่ 26 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การบริโภคอาหารที่เหมาะสมและสุขบัญญัติแห่งชาติเพิ่มขึ้น
  2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
  3. กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน

 

0 0

8. 5 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย 5.2 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริโภคอาหารที่มีประโยชน์และส่งเสริมสุขบัญญัติแห่งชาติ สำหรับกลุ่มผู้ปกครองเด็ก

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย สำหรับกลุ่มผู้ปกครองหรือผู้ดูแล รวมถึงแกนนำครอบครัวหรือ อสม.ในเขตดูแลใกล้เคียงที่มีเด็กกลุ่มเป้าหมายฯ พักอาศัยอยู่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การบริโภคอาหารที่เหมาะสมและสุขบัญญัติแห่งชาติเพิ่มขึ้น
  2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
  3. กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน

 

140 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การบริโภคอาหารที่เหมาะสมและสุขบัญญัติแห่งชาติ
ตัวชี้วัด : ผลการทดสอบความรู้ในกลุ่มเป้าหมายอยู่ในระดับปานกลางและดี มากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง ครอบคลุมร้อยละ 100
0.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 315
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 175
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การบริโภคอาหารที่เหมาะสมและสุขบัญญัติแห่งชาติ (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและต่อเนื่อง (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพซึ่งกันและกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ  เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ (2) 2. ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ (3) 6. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ (4) 3. ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครกลุ่มเป้าหมายที่สนใจในการร่วมกิจกรรมแต่ละกิจกรรม และเชิญร่วมกิจกรรมตามแผนฯ (5) 4. ร่วมกันจัดนิทรรศการความรู้เรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกหน่วยบริการ (6) 5 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย 5.1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย สำหรับกลุ่มผู้ปกครองหรือผู้ดูแล รวมถึงแกนนำครอบครัวหรือ อสม.ในเขตดูแลใกล้เคียงที่มีเด็กกลุ่มเป้าหมายฯ พักอาศัยอยู่ (7) 5 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย 5.2 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริโภคอาหารที่มีประโยชน์และส่งเสริมสุขบัญญัติแห่งชาติ สำหรับกลุ่มผู้ปกครองเด็ก (8) 7. ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมด้านพัฒนาการและโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี เด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5303-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด