กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง


“ โครงการควบคุม ป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านปาเต๊ะเหนือ

ชื่อโครงการ โครงการควบคุม ป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5303-2-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุม ป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุม ป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุม ป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5303-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อเป็นโรคที่ต้องมีการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา เช่น โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน โรคไข้เลือดออก โรคตาแดง โรคอาหารเป็นพิษ โรคสุกใส โรคมือเท้าปาก ฯลฯ การแพร่ระบาดของโรคติดต่อมักมีโอกาสที่จะแพร่กระจายได้ง่ายและรวดเร็ว ผลกระทบที่ร้ายแรงคือการทำให้อวัยวะทุกส่วนในร่างกายล้มเหลว อาจถึงแก่ชีวิตได้ จากการคืนข้อมูลสุขภาพของชุมชน พบว่า สถานการณ์โรคติดเชื้อในชุมชนยังคงมีโรคที่ระบาดอยู่เป็นประจำทุกปี แม้ไม่มีอัตราป่วยตายก็ตาม แต่ผู้ป่วยก็จะได้รับความทุกข์ทรมานจากการเป็นโรคและสูญเสียค่าใช้จ่ายจากการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น โดยระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2556-2559 และปี 2560 เฉพาะ ม.ค.-ก.ย.2560) พบอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเป็นอันดับหนึ่งและมีแนวโน้มแพร่ระบาดทุกปี ได้แก่ 1,024.98 , 1,102.36 , 1,700.57 , 1,514.25 และ 1,179.64 ต่อแสนประชากรตามลำดับ , โรคไข้เลือดออก อัตราป่วย 256.25 , 0 , 333.44 , 801.66 และ 134.82 ต่อแสนประชากรตามลำดับ , โรคตาแดง อัตราป่วย 160.15 , 503.94 , 300.10 , 59.38 และ 33.70 ต่อแสนประชากรตามลำดับ , โรคอาหารเป็นพิษ อัตราป่วย 128.12 , 220.47 , 300.10 , 29.69 และ 33.70ต่อแสนประชากรตามลำดับ , โรคสุกใส อัตราป่วย 32.03 , 125.98 , 33.34 , 89.07 และ 33.70 , โรควัณโรค อัตราป่วย 64.06 , 31.50 , 66.69 , 29.69 , 0 , 0 ต่อแสนประชากรตามลำดับ รวมถึงในปี 2560 เกิดโรคมือเท้าปากขึ้นในโรงเรียน จำวน 1 ราย อัตราป่วย 29.69 ต่อแสนประชากรตามลำดับ ซึ่งจากการระบาดของโรคดังกล่าวข้างต้น จะทำให้มีโอกาสเกิดโรคระบาดซ้ำอยู่ในปีถัดไป ซึ่งอาจมีปัจจัยของภัยสุขภาพอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้องได้แก่ ขยะ มูลสัตว์ น้ำโสโครกที่ทำให้เกิดโรคกับประชาชนในชุมชนได้ เช่น ถังขยะไม่มีการเก็บที่มิดชิด เป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงวัน สุนัขหรือแมวกัดกินอาหารและขยะตามถังเก็บขยะที่ตั้งอยู่หน้าบ้าน , น้ำขังในบ้านเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ดังนั้นหากปัญหาดังกล่าวข้างต้นได้รับการแก้ไข เร่งสร้างความตระหนักในการป้องกันโรค และสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการกำจัดโรคในชุมชนอย่างเหมาะสม จะทำให้อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อและผลกระทบด้านสุขภาพต่อประชาชนในชุมชนลดลง ประชาชนในชุมชนสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขด้วยสุขภาวะที่ดีชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านปาเต๊ะเหนือ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รวมถึงภาคีเครือข่ายอื่นๆ ในชุมชน ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาโรคติดต่อและปัจจัยของภัยสุขภาพอื่นๆที่เกี่ยวข้อง จึงดำเนินการจัดโครงการควบคุม ป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2561 ขึ้น เพื่อดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน รวมถึงเป็นการสร้างเกราะป้องกันและรณรงค์ให้เกิดจิตสำนึกของชุมชนให้มีส่วนร่วมในการสร่างสุขภาพที่ดี ส่งผลต่อการลดลงของอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนของและการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน
  2. เพื่อส่งเสริมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในชุมชน
  3. เพื่อเร่งรัดการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์
  2. 2. ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ
  3. 3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อกระตุ้นการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ และการจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมในระดับครัวเรือนและชุมชนตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ
  4. 5. ดำเนินการเร่งรัดการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อเฉพาะโรค ได้แก่ ไข้เลือดออก
  5. 4.1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การป้องกันการแพร่ระบาดของพาหะนำโรคไข้เลือดออก
  6. 4.2 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการขยะและเหตุรำคาญจากสิ่งแวดล้อม
  7. 6. ต่อยอดกิจกรรมเพื่อความยั่งยืนของการเฝ้าระวังโรคติดต่อและภัยสุขภาพ รวมถึงการจัดการขยะและเหตุรำคาญจากสิ่งแวดล้อมในชุมชน ได้แก่ ประกวดบ้านและชุมชนน่าอยู่ต้นแบบโดยคณะกรรมการ อสม. ทีมสุขภาพ และคณะกรรมการชุมชน
  8. 7. ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 280
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น
  2. ชุมชนมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในชุมชน
  3. ชุมชนมีการเร่งรัดในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพอย่างเป็นระบบและต่อ เนื่องขึ้น
  4. ประชาชนในชุมชนได้รับการสนับสนุนให้มีส่วนร่วมในการการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น 5อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนคงที่หรือลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์

วันที่ 15 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ  เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น
  2. ชุมชนมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในชุมชน
  3. ชุมชนมีการเร่งรัดในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพอย่างเป็นระบบและต่อ เนื่องขึ้น
  4. ประชาชนในชุมชนได้รับการสนับสนุนให้มีส่วนร่วมในการการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น 5  อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนคงที่หรือลดลง

 

0 0

2. 2. ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ

วันที่ 12 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น
  2. ชุมชนมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในชุมชน
  3. ชุมชนมีการเร่งรัดในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพอย่างเป็นระบบและต่อ เนื่องขึ้น
  4. ประชาชนในชุมชนได้รับการสนับสนุนให้มีส่วนร่วมในการการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น 5  อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนคงที่หรือลดลง

 

0 0

3. 3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อกระตุ้นการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ และการจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมในระดับครัวเรือนและชุมชนตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อกระตุ้นการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ และการจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมในระดับครัวเรือนและชุมชนตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น
  2. ชุมชนมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในชุมชน
  3. ชุมชนมีการเร่งรัดในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพอย่างเป็นระบบและต่อ เนื่องขึ้น
  4. ประชาชนในชุมชนได้รับการสนับสนุนให้มีส่วนร่วมในการการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น 5  อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนคงที่หรือลดลง

 

0 0

4. 4.1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การป้องกันการแพร่ระบาดของพาหะนำโรคไข้เลือดออก

วันที่ 27 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การป้องกันการแพร่ระบาดของพาหะนำโรคไข้เลือดออก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น
  2. ชุมชนมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในชุมชน
  3. ชุมชนมีการเร่งรัดในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพอย่างเป็นระบบและต่อ เนื่องขึ้น
  4. ประชาชนในชุมชนได้รับการสนับสนุนให้มีส่วนร่วมในการการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น 5  อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนคงที่หรือลดลง

 

140 0

5. 4.2 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการขยะและเหตุรำคาญจากสิ่งแวดล้อม

วันที่ 8 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการขยะและเหตุรำคาญจากสิ่งแวดล้อม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น
  2. ชุมชนมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในชุมชน
  3. ชุมชนมีการเร่งรัดในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพอย่างเป็นระบบและต่อ เนื่องขึ้น
  4. ประชาชนในชุมชนได้รับการสนับสนุนให้มีส่วนร่วมในการการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น 5  อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนคงที่หรือลดลง

 

140 0

6. 6. ต่อยอดกิจกรรมเพื่อความยั่งยืนของการเฝ้าระวังโรคติดต่อและภัยสุขภาพ รวมถึงการจัดการขยะและเหตุรำคาญจากสิ่งแวดล้อมในชุมชน ได้แก่ ประกวดบ้านและชุมชนน่าอยู่ต้นแบบโดยคณะกรรมการ อสม. ทีมสุขภาพ และคณะกรรมการชุมชน

วันที่ 1 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ต่อยอดกิจกรรมเพื่อความยั่งยืนของการเฝ้าระวังโรคติดต่อและภัยสุขภาพ รวมถึงการจัดการขยะและเหตุรำคาญจากสิ่งแวดล้อมในชุมชน ได้แก่ ประกวดบ้านและชุมชนน่าอยู่ต้นแบบ โดยคณะกรรมการ อสม. ทีมสุขภาพ และคณะกรรมการชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น
  2. ชุมชนมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในชุมชน
  3. ชุมชนมีการเร่งรัดในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพอย่างเป็นระบบและต่อ เนื่องขึ้น
  4. ประชาชนในชุมชนได้รับการสนับสนุนให้มีส่วนร่วมในการการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น 5  อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนคงที่หรือลดลง

 

0 0

7. 7. ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต.

วันที่ 26 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น
  2. ชุมชนมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในชุมชน
  3. ชุมชนมีการเร่งรัดในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพอย่างเป็นระบบและต่อ เนื่องขึ้น
  4. ประชาชนในชุมชนได้รับการสนับสนุนให้มีส่วนร่วมในการการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น 5  อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนคงที่หรือลดลง

 

0 0

8. 5. ดำเนินการเร่งรัดการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อเฉพาะโรค ได้แก่ ไข้เลือดออก

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการเร่งรัดการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อเฉพาะโรค ได้แก่ ไข้เลือดออก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น
  2. ชุมชนมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในชุมชน
  3. ชุมชนมีการเร่งรัดในการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพอย่างเป็นระบบและต่อ เนื่องขึ้น
  4. ประชาชนในชุมชนได้รับการสนับสนุนให้มีส่วนร่วมในการการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชนเพิ่มขึ้น 5  อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนคงที่หรือลดลง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผลการทดสอบความรู้ในกลุ่มเป้าหมายอยู่ในระดับปานกลางและดี มากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในชุมชน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อเร่งรัดการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพอย่างเป็นระบบและมีอัตราป่วยจากโรคและภัยสุขภาพลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 280
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 280
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน (2) เพื่อส่งเสริมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในชุมชน (3) เพื่อเร่งรัดการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ  เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ (2) 2. ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ (3) 3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อกระตุ้นการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ และการจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมในระดับครัวเรือนและชุมชนตามวิถีชุมชนบ้านปาเต๊ะ (4) 5. ดำเนินการเร่งรัดการเฝ้าระวัง การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อเฉพาะโรค ได้แก่ ไข้เลือดออก (5) 4.1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การป้องกันการแพร่ระบาดของพาหะนำโรคไข้เลือดออก (6) 4.2 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการขยะและเหตุรำคาญจากสิ่งแวดล้อม (7) 6. ต่อยอดกิจกรรมเพื่อความยั่งยืนของการเฝ้าระวังโรคติดต่อและภัยสุขภาพ รวมถึงการจัดการขยะและเหตุรำคาญจากสิ่งแวดล้อมในชุมชน ได้แก่ ประกวดบ้านและชุมชนน่าอยู่ต้นแบบโดยคณะกรรมการ อสม. ทีมสุขภาพ และคณะกรรมการชุมชน (8) 7. ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุม ป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5303-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านปาเต๊ะเหนือ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด