เด็กน้อยฟันสะอาด ห่างไกลโรคเหงือก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เด็กน้อยฟันสะอาด ห่างไกลโรคเหงือก ”
ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวศิริลักษณ์ ส่องแสงกล้า
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ เด็กน้อยฟันสะอาด ห่างไกลโรคเหงือก
ที่อยู่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61- PKL- 02- 08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 มิถุนายน 2561 ถึง 16 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"เด็กน้อยฟันสะอาด ห่างไกลโรคเหงือก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เด็กน้อยฟันสะอาด ห่างไกลโรคเหงือก
บทคัดย่อ
โครงการ " เด็กน้อยฟันสะอาด ห่างไกลโรคเหงือก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61- PKL- 02- 08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 มิถุนายน 2561 - 16 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียนประถมศึกษา เป็นปัญหาหนึ่งที่มีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งเกิดจากสาเหตุหลาย ๆ อย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤติกรรมการแปรงฟัน เนื่องจากเด็กในวัยนี้มีข้อจำกัดในเรื่องทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้องจึงส่งผลเสียโดยตรงต่ออัตราการเกิดโรคฟันแท้ผุและโรคเหงือกอักเสบในเด็ก แต่ในทางตรงกันข้ามโรคในช่องปากเป็นโรคที่สามารถป้องกันด้วยการแปรงฟันที่ถูกวิธีจะช่วยป้องกันและชะลอการเกิดฟันผุในเด็กระยะเริ่มแรกได้ หากเริ่มต้นฝึกฝนและส่งเสริมตั้งแต่เด็ก เด็กก็จะมีทันตสุขนิสัยที่ดี
จากการตรวจสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียนประจำปีการศึกษาย้อนหลัง 2 ปีตั้งแต่ปี 2559 พบว่าเด็กมีอัตราฟันแท้ผุร้อยละ 42.72และเหงือกอักเสบร้อยละ4.83และในปี 2560 เด็กมีอัตราฟันแท้ผุร้อยละ 52.12และเหงือกอักเสบร้อยละ6.67ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าเด็กนักเรียนประถมศึกษามีอัตราโรคฟันแท้ผุและเหงือกอักเสบเพิ่มขึ้น ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากล่อได้เล็งเห็นปัญหาจึงจัดทำโครงการ“เด็กน้อยฟันสะอาด ห่างไกลโรคเหงือก”เพื่อให้เด็กแปรงฟันได้อย่างถูกต้องและสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อให้แกนนำกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและมีทักษะการแปรงฟัที่ถูกวิธี
- 2.เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีและเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการด้านทันตสุขภาพแก่คุณครูอนามัยโรงเรียนและแกนนำนักเรียนโดยวิทยากร
- ฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตรวจความสะอาดสุขภาพช่องปากหลังแปรงฟันของนักเรียนประถมศึกษาโดยแกนนำนักเรียน
- ติดตามและกระตุ้นการฝึกแปรงฟันของแกนนำและนักเรียนประถมศึกษาทุก1เดือนโดยทีม อสม.ทันตฯร่วมกับเจ้าหน้าที่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
389
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีเพิ่มขึ้น
- เด็กนักเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีและเหมาะสม
3.เด็กนักเรียนได้รับการติดตามและกระตุ้นทุกเดือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการด้านทันตสุขภาพแก่คุณครูอนามัยโรงเรียนและแกนนำนักเรียนโดยวิทยากร
วันที่ 7 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ
1 ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ
2 ชี้แจงโครงการแก่ครูอนามัยโรงเรียนและเด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย
3 มอบแปรงสีฟันและยาสีฟันแก่โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายในแก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6และแบบบันทึกการแปรงฟัน
4 ทำแบบทดสอบให้ความรู้ก่อนและหลังได้รับความรู้ทันตสุขภาพ
5 ให้ความรู้ทันตสุขภาพเรื่องรอยโรคในช่องปาก เหงือกอักเสบ การแปรงฟันแห้ง และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีและเหมาะสมเป็นต้น
6 ฝึกทักษะการแปรงฟันและปฏิบัติจริงแก่แกนนำนักเรียน
7 ประกวดแปรงฟันโดยการย้อมสีฟันและคิดค่า PI
8 มอบรางวัลเพื่อเป็นแรงจูงใจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 แกนนำกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น และยังสามารถตอบข้อซักถามได้ถูกต้อง
2 แกนนำกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีเพิ่มขึ้น และยังสามารถแปรงฟันให้ค่าPI ครั้งที่ 2 ลดลง
52
0
2. ฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตรวจความสะอาดสุขภาพช่องปากหลังแปรงฟันของนักเรียนประถมศึกษาโดยแกนนำนักเรียน
วันที่ 11 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ
- สอนแปรงฟัน
- สังเกตุวิธีการแปรงฟัน
3.ย้อมสีฟัน
4.สังเกตุการบันทึกการแปรงฟัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร้อยละ 82.3 เด็กแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีสามารถลดการเกิดหินปูนซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเหงือกอักเสบ
389
0
3. ติดตามและกระตุ้นการฝึกแปรงฟันของแกนนำและนักเรียนประถมศึกษาทุก1เดือนโดยทีม อสม.ทันตฯร่วมกับเจ้าหน้าที่
วันที่ 11 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ
1.ติดตามเยี่ยมเด็กนักเรียนจากเจ้าหน้าที่ ร่วมกับอสม.แกนนำทันตะ
2. สอนการแปรงฟัน
3. สังเกตุการแปรงฟัน
4.ตรวจฟันหลังแปรง
5. ดูแบบบันทึกการแปรงฟันและสอบถามเด็กนักเรียนและคุณครู
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ร้อยละ 100 เด็กได้รับแปรงสีฟันและการแปรงฟัน
- ร้อยละ 90.6 เด็กแปรงฟันสม่ำเสมอเป็นประจำทุกวัน
389
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ร้อยละ 91.4 แกนนากลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีเพิ่มขึ้นหลังอบรม
- ร้อยละ 100 เด็กนักเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีและเหมาะสม
- ร้อยละ 100 เด็กนักเรียนได้รับการติดตามและกระตุ้นทุกเดือน
- ร้อยละ 82.3 เด็กแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีสามารถลดการเกิดหินปูนซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเหงือกอักเสบ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อให้แกนนำกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและมีทักษะการแปรงฟัที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : แกนนำกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีสามารถนำไปแนะนำเพื่อนๆได้อย่างถูกวิธี
80.00
0.00
2
2.เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนได้รับการดูแลสุขภาพที่ถูกวิธีและเหมาะสม
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
389
389
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
389
389
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
0
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้แกนนำกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและมีทักษะการแปรงฟัที่ถูกวิธี (2) 2.เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีและเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการด้านทันตสุขภาพแก่คุณครูอนามัยโรงเรียนและแกนนำนักเรียนโดยวิทยากร (2) ฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตรวจความสะอาดสุขภาพช่องปากหลังแปรงฟันของนักเรียนประถมศึกษาโดยแกนนำนักเรียน (3) ติดตามและกระตุ้นการฝึกแปรงฟันของแกนนำและนักเรียนประถมศึกษาทุก1เดือนโดยทีม อสม.ทันตฯร่วมกับเจ้าหน้าที่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เด็กไม่มาโรงเรียนเป็นประจำ
เด็กนำแปรงสีฟันกลับบ้าน
เด็กไม่สบาย หรือหยุดโรงเรียนเอง
ที่บ้านไม่มีแปรงสีฟัน
ดึงผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในโครงการ
ออกกฎของโรงเรียนให้ผู้ปกครองจัดเตรียมแปรงสีฟันให้เด็กตอนเปิดภาคเรียนที่ 1 และห้ามนำกลับบ้าน
เด็กน้อยฟันสะอาด ห่างไกลโรคเหงือก จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61- PKL- 02- 08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวศิริลักษณ์ ส่องแสงกล้า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เด็กน้อยฟันสะอาด ห่างไกลโรคเหงือก ”
ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวศิริลักษณ์ ส่องแสงกล้า
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61- PKL- 02- 08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 มิถุนายน 2561 ถึง 16 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"เด็กน้อยฟันสะอาด ห่างไกลโรคเหงือก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เด็กน้อยฟันสะอาด ห่างไกลโรคเหงือก
บทคัดย่อ
โครงการ " เด็กน้อยฟันสะอาด ห่างไกลโรคเหงือก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61- PKL- 02- 08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 มิถุนายน 2561 - 16 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียนประถมศึกษา เป็นปัญหาหนึ่งที่มีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งเกิดจากสาเหตุหลาย ๆ อย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤติกรรมการแปรงฟัน เนื่องจากเด็กในวัยนี้มีข้อจำกัดในเรื่องทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้องจึงส่งผลเสียโดยตรงต่ออัตราการเกิดโรคฟันแท้ผุและโรคเหงือกอักเสบในเด็ก แต่ในทางตรงกันข้ามโรคในช่องปากเป็นโรคที่สามารถป้องกันด้วยการแปรงฟันที่ถูกวิธีจะช่วยป้องกันและชะลอการเกิดฟันผุในเด็กระยะเริ่มแรกได้ หากเริ่มต้นฝึกฝนและส่งเสริมตั้งแต่เด็ก เด็กก็จะมีทันตสุขนิสัยที่ดี จากการตรวจสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียนประจำปีการศึกษาย้อนหลัง 2 ปีตั้งแต่ปี 2559 พบว่าเด็กมีอัตราฟันแท้ผุร้อยละ 42.72และเหงือกอักเสบร้อยละ4.83และในปี 2560 เด็กมีอัตราฟันแท้ผุร้อยละ 52.12และเหงือกอักเสบร้อยละ6.67ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าเด็กนักเรียนประถมศึกษามีอัตราโรคฟันแท้ผุและเหงือกอักเสบเพิ่มขึ้น ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากล่อได้เล็งเห็นปัญหาจึงจัดทำโครงการ“เด็กน้อยฟันสะอาด ห่างไกลโรคเหงือก”เพื่อให้เด็กแปรงฟันได้อย่างถูกต้องและสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อให้แกนนำกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและมีทักษะการแปรงฟัที่ถูกวิธี
- 2.เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีและเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการด้านทันตสุขภาพแก่คุณครูอนามัยโรงเรียนและแกนนำนักเรียนโดยวิทยากร
- ฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตรวจความสะอาดสุขภาพช่องปากหลังแปรงฟันของนักเรียนประถมศึกษาโดยแกนนำนักเรียน
- ติดตามและกระตุ้นการฝึกแปรงฟันของแกนนำและนักเรียนประถมศึกษาทุก1เดือนโดยทีม อสม.ทันตฯร่วมกับเจ้าหน้าที่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 389 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีเพิ่มขึ้น
- เด็กนักเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีและเหมาะสม 3.เด็กนักเรียนได้รับการติดตามและกระตุ้นทุกเดือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการด้านทันตสุขภาพแก่คุณครูอนามัยโรงเรียนและแกนนำนักเรียนโดยวิทยากร |
||
วันที่ 7 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ1 ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ 2 ชี้แจงโครงการแก่ครูอนามัยโรงเรียนและเด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย 3 มอบแปรงสีฟันและยาสีฟันแก่โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายในแก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6และแบบบันทึกการแปรงฟัน 4 ทำแบบทดสอบให้ความรู้ก่อนและหลังได้รับความรู้ทันตสุขภาพ 5 ให้ความรู้ทันตสุขภาพเรื่องรอยโรคในช่องปาก เหงือกอักเสบ การแปรงฟันแห้ง และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีและเหมาะสมเป็นต้น 6 ฝึกทักษะการแปรงฟันและปฏิบัติจริงแก่แกนนำนักเรียน 7 ประกวดแปรงฟันโดยการย้อมสีฟันและคิดค่า PI 8 มอบรางวัลเพื่อเป็นแรงจูงใจ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 แกนนำกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น และยังสามารถตอบข้อซักถามได้ถูกต้อง 2 แกนนำกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีเพิ่มขึ้น และยังสามารถแปรงฟันให้ค่าPI ครั้งที่ 2 ลดลง
|
52 | 0 |
2. ฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตรวจความสะอาดสุขภาพช่องปากหลังแปรงฟันของนักเรียนประถมศึกษาโดยแกนนำนักเรียน |
||
วันที่ 11 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร้อยละ 82.3 เด็กแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีสามารถลดการเกิดหินปูนซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเหงือกอักเสบ
|
389 | 0 |
3. ติดตามและกระตุ้นการฝึกแปรงฟันของแกนนำและนักเรียนประถมศึกษาทุก1เดือนโดยทีม อสม.ทันตฯร่วมกับเจ้าหน้าที่ |
||
วันที่ 11 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ1.ติดตามเยี่ยมเด็กนักเรียนจากเจ้าหน้าที่ ร่วมกับอสม.แกนนำทันตะ 2. สอนการแปรงฟัน 3. สังเกตุการแปรงฟัน 4.ตรวจฟันหลังแปรง 5. ดูแบบบันทึกการแปรงฟันและสอบถามเด็กนักเรียนและคุณครู ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
389 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ร้อยละ 91.4 แกนนากลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีเพิ่มขึ้นหลังอบรม
- ร้อยละ 100 เด็กนักเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีและเหมาะสม
- ร้อยละ 100 เด็กนักเรียนได้รับการติดตามและกระตุ้นทุกเดือน
- ร้อยละ 82.3 เด็กแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีสามารถลดการเกิดหินปูนซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเหงือกอักเสบ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อให้แกนนำกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและมีทักษะการแปรงฟัที่ถูกวิธี ตัวชี้วัด : แกนนำกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีสามารถนำไปแนะนำเพื่อนๆได้อย่างถูกวิธี |
80.00 | 0.00 |
|
|
2 | 2.เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีและเหมาะสม ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนได้รับการดูแลสุขภาพที่ถูกวิธีและเหมาะสม |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 389 | 389 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 389 | 389 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 0 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้แกนนำกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและมีทักษะการแปรงฟัที่ถูกวิธี (2) 2.เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีและเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการด้านทันตสุขภาพแก่คุณครูอนามัยโรงเรียนและแกนนำนักเรียนโดยวิทยากร (2) ฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตรวจความสะอาดสุขภาพช่องปากหลังแปรงฟันของนักเรียนประถมศึกษาโดยแกนนำนักเรียน (3) ติดตามและกระตุ้นการฝึกแปรงฟันของแกนนำและนักเรียนประถมศึกษาทุก1เดือนโดยทีม อสม.ทันตฯร่วมกับเจ้าหน้าที่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
เด็กไม่มาโรงเรียนเป็นประจำ เด็กนำแปรงสีฟันกลับบ้าน |
เด็กไม่สบาย หรือหยุดโรงเรียนเอง ที่บ้านไม่มีแปรงสีฟัน |
ดึงผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในโครงการ ออกกฎของโรงเรียนให้ผู้ปกครองจัดเตรียมแปรงสีฟันให้เด็กตอนเปิดภาคเรียนที่ 1 และห้ามนำกลับบ้าน |
เด็กน้อยฟันสะอาด ห่างไกลโรคเหงือก จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61- PKL- 02- 08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวศิริลักษณ์ ส่องแสงกล้า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......