กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการบ้านแป-ระใต้ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพผู้สูงวัยปี ๒๕๖๑ ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้




ชื่อโครงการ โครงการบ้านแป-ระใต้ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพผู้สูงวัยปี ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านแป-ระใต้ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพผู้สูงวัยปี ๒๕๖๑ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านแป-ระใต้ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพผู้สูงวัยปี ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านแป-ระใต้ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพผู้สูงวัยปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายส่งเสริมสุขภาพประชากรทุกกลุ่มทุกอายุส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของไทยเนื่องจากประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีและมีอายุยืนยาวเพิ่มขึ้นส่งผลให้จำนวนและสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วคือประมาณร้อยละ๑๐ของประชากรทั้งหมดเท่ากับ๖.๓ล้านคนและคาดว่าในอีก๒๐ปีข้างหน้าจะมีผู้สูงอายุถึงร้อยละ๒๐หรือ๑๓.๗ล้านคนโครงสร้างประชากรเคลื่อนเข้าสู่ระยะที่เรียกว่าภาวะประชากรผู้สูงอายุซึ่งมีผลกระทบต่อสภาวะสุขภาพสังคมเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพที่แตกต่างกันเนื่องจากผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีสภาพร่างกายที่เสื่อมและถดถอยลงเป็นไปตามกาลเวลา เป็นผลที่ทำให้โรคภัยไข้เจ็บต่างๆสามารถเข้ามาเบียดเบียนได้ง่าย หากผู้สูงอายุมีปัญหาต่างๆไม่ว่าปัญหาทางครอบครัวปัญหาเศรษฐกิจฯลฯ ด้วยแล้วก็มักจะทำให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพอนามัยทั้งทางด้านร่างกายจิตใจ ผลที่ตามมานั้นอาจจะเป็นปัญหาทางชุมชนและสังคมต่อไปด้วย เป็นที่ประจักษ์ว่าผู้สูงอายุนั้นมักมีข้อจำกัดในการดูแลสุขภาพของตนเอง จำเป็นต้องได้รับการดูแลและช่วยเหลือเพื่อให้เขาเหล่านั้นได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตดีหากได้รับการดูแลอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอแล้ว ก็เชื่อว่าน่าจะมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น สามารถดำรงชีวิตอยู่ในครอบครัว ชุมชน ได้อย่างยืนยาว ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุนั้น จำเป็นต้องเตรียมความพร้อมของกลุ่มเป้าหมายคือตัวผู้สูงอายุเองผู้ดูแลผู้สูงอายุ และสมาชิกที่รวมอยู่ครอบครัวเดียวกัน ให้ได้มีความรู้ความเข้าใจในงานสาธารณสุขโดยเฉพาะเรื่องของการป้องกันโรคการส่งเสริมสุขภาพการฟื้นฟูสุขภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ร่วมกับชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาต่างๆเหล่านี้ จึงได้จัดทำโครงการบ้านแป-ระใต้ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพผู้สูงวัย ดำเนินการในชมรมผู้สูงอายุในรูปของการตรวจสุขภาพให้ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ และปัญหาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุเพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องเหมาะสม มีความรู้ ความเข้าใจในการดุแลสุขภาพของตนเองได้อย่างดีและเหมาะสมการจัดประกวดผู้สูงอายุสุขภาพดีเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินชีวิตที่แข็งแรงสุขภาพดีตลอดจนให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันส่งเสริมฟื้นฟูและรักษาสุขภาพให้มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงทั้งด้านร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมให้แก่สมาชิกชมรมผู้สูงอายุนอกจากนี้ยังเป็นการดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องจากโครงการชมรมผู้สูงอายุซึ่งมีอยู่เดิมด้วย จากข้อมูลโปรแกรมJHCIS จำนวนผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ ๓ หมู่บ้าน มีจำนวนผู้สูงอายุเป็นชาย ๙๔ คน หญิง ๑๐๕ คน รวม ๑๙๙ คน (ข้อมูลจากJHCISเมื่อวันที่ ๑ตุลาคม๒๕๖๐) เป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุหญิง๘๒คนชาย๓๘คนรวม๑๒๐คน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที1 . เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถดูแลด้านสุขภาพของตนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  2. ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้รับการดูแลด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่องจากเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุข
  3. ข้อที่ 3เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสพบปะ พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์และทำกิจกรรมร่วมกัน
  4. ข้อที่ 4 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 1ครั้ง
  2. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้และประกวดผู้สูงอายุสุขภาพดีในชมรมผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้นได้ ๒. ผู้สูงอายุเข้าใจสถานภาพของตนเองสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมและมีสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้สูงอายุ ด้วยกันในชุมชน ๓.ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับการตรวจคัดกรองด้านสุขภาพเพื่อเฝ้าระวังโรคและได้รับคำแนะนำในการปฏิบัติ ตนละมาเข้าร่วมกิจกรรมในคลินิกผู้สูงอายุของชมรมมากขึ้นและมีสุขภาพกายและจิตที่ดีขึ้น ๔.ชุมชนและสังคมให้ความสนใจและมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุมากขึ้น ๕. ผู้สูงอายุมีขวัญและกำลังใจในการดำรงชีวิตดีขึ้น ๖.ชุมชนมีความรู้สึกที่ดีต่อสถานบริการสาธารณสุขมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 1ครั้ง

วันที่ 20 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมชมรมผูสูงอายุ จำนวน 1 ครั้ง
-ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดืม จำนวน 100 ชุดๆละ 25 บาท จำนวน เดือน
เป็นเงิน 2,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้นได้ - ผู้สูงอายุเข้าใจสถานภาพของตนเอง สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมและมีสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้สูงอายุด้วยกันในชุมชน -ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับการตรวจคัดกรองด้านสุขภาพเพื่อเฝ้าระวังโรคและได้รับคำแนะนำในการปฏิบัติตน

 

100 0

2. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้และประกวดผู้สูงอายุสุขภาพดีในชมรมผู้สูงอายุ

วันที่ 6 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้และประกวดผู้สู.อายุสุขภาพดีในชมรมผู้สูงอายุ -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 คน ๆ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท -ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน จำนวน 4 ชัวโมง ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ชุมชนและสังคมให้ความสนใจและมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุมากขึ้น
  • ผู้สูงอายุมีขวัญและกำลังใจในการดำรงชีวิตดีขึ้น
  • ชุมชนมีความรู้ที่ดีต่อสถานบริการสาธารณสุขมากขึ้น

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที1 . เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถดูแลด้านสุขภาพของตนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. ผู้สูงอายุไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ
0.00

 

2 ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้รับการดูแลด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่องจากเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : 2 ผู้สูงอายุไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 สมัครเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ
0.00

 

3 ข้อที่ 3เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสพบปะ พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์และทำกิจกรรมร่วมกัน
ตัวชี้วัด : 3 ผู้สูงอายุไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ดำเนินกิจกรรมทางด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง เช่นการเข้า ร่วมเป็นสมาชิกชมรมผู้สูอายุ การออกกำลังกาย และอื่นๆ
0.00

 

4 ข้อที่ 4 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 60
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที1 . เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถดูแลด้านสุขภาพของตนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (2) ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้สูงอายุ  ได้รับการดูแลด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่องจากเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุข (3) ข้อที่ 3เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสพบปะ พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์และทำกิจกรรมร่วมกัน (4) ข้อที่ 4 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 1ครั้ง (2) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้และประกวดผู้สูงอายุสุขภาพดีในชมรมผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบ้านแป-ระใต้ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพผู้สูงวัยปี ๒๕๖๑ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด