กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ


“ โครงการส่งเสริมการปลอดบุหรี่ในชุมชนเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ”

ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการปลอดบุหรี่ในชุมชนเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการปลอดบุหรี่ในชุมชนเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการปลอดบุหรี่ในชุมชนเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการปลอดบุหรี่ในชุมชนเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,450.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ให้ความสำคัญกับการเลิกสูบบุหรี่มาอย่างต่อเนื่อง โดยจัดให้มี “วันงดสูบบุหรี่โลก” (World No Tobacco Day) ขึ้นใน วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ของทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ เป็นต้นมาและองค์การอนามัยโลกได้ให้คำขวัญวันงดสูบบุหรี่โลก ๒๕๖๐ คือ บุหรี่ ภัยคุกคามต่อการพัฒนา (Tobaccoa threat to development) จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก พบว่า แต่ละปีมีผู้เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ประมาณ ๕ล้านคน ซึ่งเทียบเท่ากับเดือนละเกือบ ๑๑,๐๐๐คน หรือวันละ ๘คนและในบุหรี่มีสารเคมี ๔,๐๐๐กว่าชนิด เช่น formaldehyde (สารเคมีที่ใช้ดองศพ) carbon monoxide (เช่นเดียวกับควันจากท่อไอเสียเครื่องยนต์)สาร acetone (สารเคมีที่ใช้ล้างเล็บ) ซึ่งสารเหล่านี้ล้วนแต่เป็นอันตรายต่อสุภาพทั้งต่อผู้สูบเองและผู้ที่ได้รับควันบุหรี่มือสองโดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากผู้ที่ได้รับควันบุหรี่เป็นเด็ก ก็จะยิ่งเป็นอันตรายมากขึ้นเนื่องจากเด็กยังมีภูมิต้านทางโรคค่อนข้างต่ำและยังไม่สามารถป้องกันตนเองจากการได้รับควันบุหรี่จากผู้ใหญ่ได้นอกจากนั้น งานวิจัยยังพบว่าในแต่ละปีมีคนไทยเสียชีวิต จากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ ปีละ ๕๒,๐๐๐คน หรือชั่วโมงละ ๖คน และผู้ที่ติดบุหรี่ส่วนใหญ่ร้อยละ ๙๐เริ่มสูบและติดบุหรี่ ตั้งแต่ยังอยู่ในวัยรุ่น ในช่วงอายุ ๑๑ –๑๘ ปี และประเด็นสำคัญคือทำให้ผู้ที่อยู่รอบข้างได้รับพิษควันบุหรี่ ซึ่งมีภาวะเสี่ยงทำให้เกิดโรคไม่แตกต่างจากคนสูบบุหรี่หรืออาจจะมากกว่าคนสูบบุหรี่ ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ ได้ตระหนักถึงปัญหานี้และต้องการลดผู้ที่สูบบุหรี่ในชุมชน และมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันเรื่องการลดการสูบบุหรี่จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการปลอดบุหรี่ในชุมชนเพื่อสุขภาพ“สังคมไทยปลอดบุหรี่” อย่างแท้จริงได้ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์และช่วยให้สมาชิกในชุมชนเลิกบุหรี่ได้
  2. เพื่อป้องกันไม่ให้มีผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. -ให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ ๒, ๓ ,๔
  2. จัดสำรวจบ้านตามโครงการส่งเสริมการปลอดบุหรี่ในชุมชนเพื่อสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ประชาชนในชุมชนและผู้ที่สนใจโดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ มีความตระหนักสนใจและมีส่วนร่วม
ในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ ๒.ประชาชนในชุมชน มีความรู้และทักษะเพิ่มขึ้น สามารถเลิกบุหรี่ได้บางส่วน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. -ให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ ๒, ๓ ,๔

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ 2,3,4 1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คนๆละ 50 บาท /มื้อ เป็นเงิน 4,000 บาท 2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 25 บาท/มื้อ เป็นเงิน 4,000 บาท 3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 4 ชั่วโมง จำนวน 1 คน เป็นเงิน 2,400 บาท 4. ค่าป้ายไวนิล ขนาด1*3 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 450 บาท 5. ค่าวัสดุในการจัดโครงการ จำนวน 80 ชุดๆละ 20 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
                                  รวมเป็นเงิน 12,450 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนในชุมชนและผู้ที่สนใจโดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ มีความตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่
  2. ประชาชนในชุมชนมีความรู้และทักษะเพิ่มขึ้น สามารถเลิกบุหรี่ได้บางส่วน

 

80 0

2. จัดสำรวจบ้านตามโครงการส่งเสริมการปลอดบุหรี่ในชุมชนเพื่อสุขภาพ

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมร่วมกรณรงค์ ลด/ละ/เลิกสูบบุหรี่ในพื้นที่ตำบลท่าเรือ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลท่าเรือ เลิกบุหรี่ได้บางส่วน

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์และช่วยให้สมาชิกในชุมชนเลิกบุหรี่ได้
ตัวชี้วัด : ๑. เพื่อรณรงค์และช่วยให้สมาชิกในชุมชนเลิกบุหรี่ได้ ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อป้องกันไม่ให้มีผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในชุมชน
ตัวชี้วัด : เพื่อป้องกันไม่ให้มีผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในชุมชน ร้อยละ 70
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์และช่วยให้สมาชิกในชุมชนเลิกบุหรี่ได้ (2) เพื่อป้องกันไม่ให้มีผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) -ให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ ๒, ๓ ,๔ (2) จัดสำรวจบ้านตามโครงการส่งเสริมการปลอดบุหรี่ในชุมชนเพื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการปลอดบุหรี่ในชุมชนเพื่อสุขภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด