กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางปอ


“ โครงการบ้านน่าอยู่ ชุมชนน่ามอง สิ่งแวดล้อมดีปี 2561 ”

ตำบลบางปอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางอุษณีย์ .. มะยูโซ๊ํะ

ชื่อโครงการ โครงการบ้านน่าอยู่ ชุมชนน่ามอง สิ่งแวดล้อมดีปี 2561

ที่อยู่ ตำบลบางปอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61L2493104 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านน่าอยู่ ชุมชนน่ามอง สิ่งแวดล้อมดีปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางปอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางปอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านน่าอยู่ ชุมชนน่ามอง สิ่งแวดล้อมดีปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านน่าอยู่ ชุมชนน่ามอง สิ่งแวดล้อมดีปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางปอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61L2493104 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางปอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บ้านน่าอยู่ชุมชนน่ามองในแนวคิดขององค์การอนามัยโลก คือ กระบวนการที่ทำให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสุขภาพสังคม และพร้อมที่จะร่วมกันสรรค์สร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการดำรงชีวิต และในขณะเดียวกัน บ้านน่าอยู่ ชุมชนน่ามอง ก็คือบ้านที่มีการสร้างสรรค์และปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทั้งด้านกายภาพและสังคมอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการขยายแหล่งทรัพยากรชุมชน โดยให้ประชาชนในชุมชนนั้นมีส่วนร่วมและช่วยเหลือซึ่งกันเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต เพื่อให้ได้ศักยภาพหรือคุณภาพของชีวิตที่ดีที่สุดการรักษาสภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เช่น การจัดบ้านเรือนให้สะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อยการกำจัดขยะมูลฝอย การกำจัดน้ำเสียและสิ่งปฏิกูลจะเป็นการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์แมลงนำโรคและทำลายที่อยู่อาศัยของสัตว์พาหะนำโรคติดต่อต่าง ๆอีกทั้ง การสุขาภิบาลอาหารการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบท ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่จัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนา ซึ่งประชาชนยังให้ความสนใจในการปฏิบัติตัวด้านสุขภาพอนามัยไม่ดีเท่าที่ควร ประกอบกับประชาชนส่วนใหญ่ที่มีปัญหาด้านสุขภาพอนามัยมักจะอยู่ในกลุ่มที่มีสถานะทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีพอ จึงทำให้เกิดโรคติดเชื้อทางอาหารและน้ำ เช่น โรคอุจจาระร่วง บิด อาหารเป็นพิษ ไทฟอยด์ และโรคที่เกิดจากสัตว์นำโรค เช่น โรคไข้เลือดออกปัญหาการเกิดโรคในชุมชนประกอบด้วยองค์ประกอบหลายด้าน เช่นสภาพแวดล้อมที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ทำให้มีแหล่งเพาะพันธุ์แมลงนำโรคและที่อยู่อาศัยของสัตว์นำโรคกระจายอยู่ทั่วไปประกอบกับหน้าฝนถ้าชุมชนไม่มีความตระหนักและช่วยกันดูแลสภาพสิ่งแวดล้อมให้ดีจะทำให้ทั้งในบริเวณถนนภายในหมู่บ้าน ในบริเวณบ้านมีต้นหญ้าวัชพืชเกิดขึ้นมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาดที่นำโดยแมลงตามมา เช่น โรคไข้เลือดออกโรคเลปโตสไปโรซีส เป็นต้น ตำบลบางปอ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เช่นการกำจัดขยะมูลฝอยการกำจัดน้ำเสียและสิ่งปฏิกูล การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์แมลงนำโรคและทำลายที่อยู่อาศัยของสัตว์พาหะนำโรคติดต่อต่างๆจากการดำเนินงานด้านการควบคุมและป้องกันโรค พบว่าในปี ๒๕๖๐ พบว่าอัตราป่วย ๕อันดับโรคแรก คิดเป็นต่อแสนประชากรได้แก่ อุจจาระร่วง ๓,๐๓๗.๖๐ ตาแดง๖๘๖.๔๖ ไข้สุกใส๒๐๕.๙๔ ไข้เลือดออก ๑๗๑.๖๑และมือ เท้า ปาก๕๑.๔๘ตามลำดับ


โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะโล๊ะแน็งได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการบ้านน่าอยู่ ชุมชนน่ามอง สิ่งแวดล้อมดีเพื่อเตรียมความพร้อมของชุมชน ให้ชุมชนมีส่วนร่วมคิดหาแนวทาง สร้างแบบแผนการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อรักษาสภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม ป้องกันการเกิดโรคติดต่อในชุมชน และเพื่อให้ชุมชนมีจิตสำนึกที่ดีในการรักษาสภาพแวดล้อมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ๑.เพื่อรักษาสภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้สะอาด เป็นระเบียบ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
  2. ๒.เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นสื่อและโรคติดเชื้อทางอาหารและน้ำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมรณรงค์ทำความสะอาดบ้านเรือน
  3. ประกวดบ้านสะอาด ตามโครงการบ้านน่าอยู่ ชุมชนน่ามอง สิ่งแวดล้อมดี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

สภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้สะอาด เป็นระเบียบ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ๑.เพื่อรักษาสภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้สะอาด เป็นระเบียบ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละของบ้านที่สำรวจพบลูกน้ำยุงลาย น้อยกว่า ๑๐ ๒.ร้อยละของภาชนะที่สำรวจพบลูกน้ำยุงลาย เท่ากับ ๐
0.00

 

2 ๒.เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นสื่อและโรคติดเชื้อทางอาหารและน้ำ
ตัวชี้วัด : ๓.อัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกไม่เกิน ร้อยละ ๕๐ ต่อแสนประชากร ๔. อัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน น้อยกว่า๑,๐๐๐ ต่อแสนประชากร
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ๑.เพื่อรักษาสภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้สะอาด เป็นระเบียบ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (2) ๒.เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นสื่อและโรคติดเชื้อทางอาหารและน้ำ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการ  (2) กิจกรรมรณรงค์ทำความสะอาดบ้านเรือน  (3) ประกวดบ้านสะอาด ตามโครงการบ้านน่าอยู่ ชุมชนน่ามอง สิ่งแวดล้อมดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบ้านน่าอยู่ ชุมชนน่ามอง สิ่งแวดล้อมดีปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61L2493104

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุษณีย์ .. มะยูโซ๊ํะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด