กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง


“ โครงการรู้ทันโรค(เบาหวานและความดันโลหิต) ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนประจำปีงบประมาณ2561 ”

รพ.สต.บ้านกลาง หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอัมราน เบ็ญอิสริยา

ชื่อโครงการ โครงการรู้ทันโรค(เบาหวานและความดันโลหิต) ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนประจำปีงบประมาณ2561

ที่อยู่ รพ.สต.บ้านกลาง หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้ทันโรค(เบาหวานและความดันโลหิต) ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนประจำปีงบประมาณ2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.บ้านกลาง หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้ทันโรค(เบาหวานและความดันโลหิต) ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนประจำปีงบประมาณ2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้ทันโรค(เบาหวานและความดันโลหิต) ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนประจำปีงบประมาณ2561 " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.บ้านกลาง หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,140.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

  1. หลักการและเหตุผล ปัญหาโรคไม่ติดต่อ เช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบัน ซึ่งทั่วโลกให้ความสำคัญกับการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้นเนื่องจาก สภาวะความเป็นอยู่ วิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปและพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของประชาชน ทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีจำนวนเพิ่มขึ้นจากรายงานสถิติสุขภาพทั่วโลกปีพ.ศ.2556 ขององค์การอนามัยโลก พบว่า 1 ใน10 ของประชาชนในวัยผู้ใหญ่ ป่วยเป็นโรคเบาหวาน และ1 ใน 3 มีภาวะความดันโลหิตสูง นอกจากนี้ พบว่าประมาณร้อยละ63 ของการเสียชีวิตทั้งหมดทั่วโลก เกิดจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สำหรับประเทศไทยรายงานจากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พ.ศ.2551 – 2553 พบความชุกของโรคเบาหวานในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ6.9 ทั้งนี้พบว่าหนึ่งในสามของผู้ที่เป็นเบาหวาน ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานมาก่อน และมีผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานแต่ ไม่ได้รับการรักษาที่ต่อเนื่องคิดเป็นร้อยละ3.3 สำหรับความชุกของโรคความดันโลหิตสูง ในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป พบร้อยละ21.4 โดยพบว่าร้อยละ60 ในชายและร้อยละ40 ในหญิงไม่เคยได้รับได้รับการวินิจฉัยมาก่อนและร้อยละ8-9 ได้รับการวินิจฉัยแต่ไม่ได้รับการรักษาที่ต่อเนื่อง (เอกสารข้อมูลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (fact sheet)_สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์) การที่ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่สามารถควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ และมีผู้เสียชีวิตตามมาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้องต่อเนื่อง ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในหลายระบบของร่างกาย ทั้งภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง ก่อให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะเศรษฐกิจของผู้ป่วยและครอบครัว รวมทั้งประเทศชาติ ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญได้แก่ ภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า เป็นต้น โดยจังหวัดปัตตานีพบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีตั้งแต่ ปี 2557-2560 คิดเป็นร้อยละ 5.12 5.03 14.43 และ15.19 ตามลำดับ จะเห็นว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นแต่ยังไม่ผ่านเกณฑ์กระทรวงที่ตั้งไว้ ร้อยละ 40 ส่วนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ปี 2557-2560 คิดเป็นร้อยละ 9.02 9.18 18.05และ15.59 ตามลำดับ เมื่อลำดับความสำคัญของปัญหาในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านกลาง พบว่าโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นปัญหาที่สำคัญของพื้นที่ โดยพบว่าสถานการณ์จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนจำนวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 3.38ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนจำนวน 135 คน คิดเป็นร้อยละ 7.49 และในจำนวนนี้ พบว่า ในปี 2559 และปี 2560 มีผู้ป่วยที่ควบคุมโรคเบาหวานได้ จำนวน 10 และ 4 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 และ6.67 ตามลำดับ และควบคุมโรคความดันโลหิตสูงได้ จำนวน 38 และ 26 คน คิดเป็นร้อยละ 28.75 และ 19.4 ตามลำดับ ซึ่งลดลง ในปี 2560 ยังพบว่ามีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานจำนวนทั้งหมด 11 คนคิดเป็นร้อยละ 18.03 ของผู้ป่วยที่ลงทะเบียนไว้ และมีภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 8.89 ของผู้ป่วยที่ลงทะเบียนไว้ ซึ่งส่วนใหญ่ เกิดในกลุ่มป่วยที่ขาดการควบคุมอาหารและขาดการรับประทานยาที่ต่อเนื่อง

ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันภาวะแทรกซ้อนและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น รพ.สต.บ้านกลาง จึงได้จัดทำ โครงการ รู้ทันโรค ( เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง) ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าว ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปี เช่น การเจาะเลือด การตรวจตา ตรวจเท้า และให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี สามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม โดยครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพแบบยั่งยืนและมุ่งหวังในการที่จะเสริมสร้างสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ให้ดียิ่งๆขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได้ 2. เพื่อติดตามตรวจสุขภาพ และตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปี 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตาและการตรวจเท้า 4. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถดูแลเท้าของตนเอง ป้องกันการเกิดแผลที่เท้าได้ 5. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการดูแลต่อเนื่องแบบองค์รวม 6. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการและแจ้งรายชื่อกลุ่มเป้าหมายให้กับเจ้าหน้าที่และอสม.
  2. กิจกรรมที่ 2 เยี่ยมบ้านประเมินอาการผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. กิจกรรมที่ 3 อบรม(เชิงปฏิบัติการ)ให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
  4. กิจกรรมที่ 4 คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต ตา และเท้า โดยการเจาะเลือดจากเลือดดำที่แขน โดยให้งดน้ำงดอาหารก่อนเจาะ 8-10 ชม.และเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 176
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมโรคได้ อย่างน้อยร้อยละ 40
2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปี ร้อยละ 90 3. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตาและการตรวจเท้า ร้อยละ 70 4. ผู้ป่วยเบาหวานสามารถดูแลเท้าของตนเอง ป้องกันการเกิดแผลที่เท้าได้ 5. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการดูแลต่อเนื่องแบบองค์รวม 6. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง เรื่องอาหาร และการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการและแจ้งรายชื่อกลุ่มเป้าหมายให้กับเจ้าหน้าที่และอสม.

วันที่ 1 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการและแจ้งรายชื่อกลุ่มเป้าหมายให้กับเจ้าหน้าที่และอสม.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมโรคได้ อย่างน้อยร้อยละ 40 2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปี ร้อยละ 90 3.ผุ้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตาและการตรวจเท้า ร้อยละ 70 4.ผู้ป่วยเบาหวานสามารถดูแลเท้าของตนเอง ป้องกันการเกิดแผลที่เท้าได้ 5.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการต่อเนื่องแบบองค์รวม 6.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่องเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง เรื่องอาหาร และการป้องกันการเดิดภาวะแทรกซ้อนได้

 

25 0

2. กิจกรรมที่ 2 เยี่ยมบ้านประเมินอาการผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

วันที่ 15 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

เยี่ยมบ้านประเมินอาการผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 5 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมโรคได้ อย่างน้อยร้อยละ 40 2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปี ร้อยละ 90 3.ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตาและการตรวจเท้า ร้อยละ 70 4.ผู้ป่วยเบาหวานสามารถดูแลเท้าของตนเอง ป้องกันการเกิดแผลที่เท้าได้ 5.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการต่อเนื่องแบบองค์รวม 6.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่องเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง เรื่องอาหาร และการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้

 

5 0

3. กิจกรรมที่ 4 คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต ตา และเท้า โดยการเจาะเลือดจากเลือดดำที่แขน โดยให้งดน้ำงดอาหารก่อนเจาะ 8-10 ชม.และเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจ

วันที่ 11 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต  ตา  และเท้า โดยการเจาะเลือดจากเลือดดำที่แขน โดยให้งดน้ำงดอาหารก่อนเจาะ 8-10 ชม.และเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมโรคได้ อย่างน้อยร้อยละ 40 2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปี ร้อยละ 90 3.ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตาและการตรวจเท้า ร้อยละ 70 4.ผู้ป่วยเบาหวานสามารถดูแลเท้าของตนเอง ป้องกันการเกิดแผลที่เท้าได้ 5.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการต่อเนื่องแบบองค์รวม 6.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่องเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง เรื่องอาหาร และการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้

 

73 0

4. กิจกรรมที่ 3 อบรม(เชิงปฏิบัติการ)ให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะแทรกซ้อนต่างๆ

วันที่ 10 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรม(เชิงปฏิบัติการ)ให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะแทรกซ้อนต่างๆ จำนวน 73 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมโรคได้ อย่างน้อยร้อยละ 40 2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปี ร้อยละ 90 3.ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตาและการตรวจเท้า ร้อยละ 70 4.ผู้ป่วยเบาหวานสามารถดูแลเท้าของตนเอง ป้องกันการเกิดแผลที่เท้าได้ 5.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการต่อเนื่องแบบองค์รวม 6.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่องเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง เรื่องอาหาร และการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้

 

73 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได้ 2. เพื่อติดตามตรวจสุขภาพ และตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปี 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตาและการตรวจเท้า 4. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถดูแลเท้าของตนเอง ป้องกันการเกิดแผลที่เท้าได้ 5. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการดูแลต่อเนื่องแบบองค์รวม 6. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นได้
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมโรคได้ อย่างน้อยร้อยละ 40 2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปี ร้อยละ 90 3. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตาและการตรวจเท้า ร้อยละ 70 4. ผู้ป่วยเบาหวานสามารถดูแลเท้าของตนเอง ป้องกันการเกิดแผลที่เท้าได้ 5. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการดูแลต่อเนื่องแบบองค์รวม 6. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง เรื่องอาหาร และการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 176
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 176
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 1.  เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได้  2.  เพื่อติดตามตรวจสุขภาพ และตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปี  3.  เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตาและการตรวจเท้า  4.  เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถดูแลเท้าของตนเอง ป้องกันการเกิดแผลที่เท้าได้ 5.  เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการดูแลต่อเนื่องแบบองค์รวม 6. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่  1  ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการและแจ้งรายชื่อกลุ่มเป้าหมายให้กับเจ้าหน้าที่และอสม. (2) กิจกรรมที่  2  เยี่ยมบ้านประเมินอาการผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (3) กิจกรรมที่  3  อบรม(เชิงปฏิบัติการ)ให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะแทรกซ้อนต่างๆ (4) กิจกรรมที่  4  คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต  ตา  และเท้า โดยการเจาะเลือดจากเลือดดำที่แขน โดยให้งดน้ำงดอาหารก่อนเจาะ 8-10 ชม.และเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรู้ทันโรค(เบาหวานและความดันโลหิต) ห่างไกลภาวะแทรกซ้อนประจำปีงบประมาณ2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอัมราน เบ็ญอิสริยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด