กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาวิชาการการป้องกันโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลกาลูปัง
รหัสโครงการ 61-L4155-2-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง
วันที่อนุมัติ 26 มกราคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.464,101.374place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลกาลูปัง ที่ยังเกิดโรคกันทุกปี คือโรคไข้เลือดออก ซึ่งในปี งบประมาณ 2560 มีผู้ป่วยจำนวน 5 ราย เกินค่ามาตรฐานที่กระทรวงกำหนดต้องไม่เกิน 50 ต่อ แสนประชากร ตำบลกาลูปัง คิดเป็นอัตราป่วย 156 ต่อ แสนประชากร นับว่ายังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขของตำบลอยู่ ที่ทุกๆฝ่ายต้องเข้ามาช่วยกันมีส่วนร่วมในการป้องกันโรค ด้วยวิธีการใหม่ๆที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม บวกกับการส่งเสริมสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่และวิถีชีวิตของคนในชุมชน จะด้วยวิธีการอบรมให้ความรู้ ส่งเสริมทักษะการป้องกันโรค แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมคิดนวตกรรมการป้องกันโรค ระหว่าง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข และภาคีเครือข่าย ในตำบล กับผู้ที่มีความรู้มีประสบการณ์ในงานการป้องกันโรคติดต่อ ที่สามารถมากำหนดเป็นยุทธศาสตร์ และกลยุทธในการดำเนินการการป้องกันโรคติดต่อที่ได้ผลและมีประสิทธิภาพด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่ สามารถบูรณาการกิจกรรมการป้องกันโรคร่วมกับกิจกรรมอื่นๆที่จะมีขึ้นในตำบลเป็นการประหยัดงบประมาณและเพิ่มกระแสการตื่นตัวในการป้องกันโรคของชุมชนเอง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางวิชาการ การป้องกันโรคติดต่อในพื้นที่ 2.เพื่อศึกษาแนวทางกิจกรรม ที่มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับบริบทในพื้นที่ 3.เพื่อสร้างนวัตกรรมการป้องกันโรคติดต่อในพื้นที่

ตัวชี้วัดความสำเร็จ การอบรมเชิงปฏิบัติการการป้องกันโรคติดต่อ
กลุ่มเป้าหมาย 100 เปอร์เซนต์ มีกิจกรรมที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ มีนวัตกรรมการป้องกันโรค งานวิจัย R2R  Photo Poster presentation

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 15,000.00 1 15,000.00
1 เม.ย. 61 - 30 ก.ย. 61 1. การสร้างองค์ความรู้ 0 15,000.00 15,000.00

.การสร้างองค์ความรู้ 1.1 การประชุมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันโรคติดต่อในพื้นที่ 1.2 เวทีแลกเปลี่ยน ทักษะ ประสบการณ์ 1.3 การกำหนดกลยุทธการป้องกันโรคติดต่อด้วยวิธีการใหม่ๆ 2 การรวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์ ทักษะการป้องกันโรคของชุมชน 2.1 เก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่าง 2.2 แปรผล สะท้อนปัญหาที่แท้จริง 3 นวัตกรรมการป้องกันโรค 3.1 งานวิจัยR2R โฟโต้ โปสเตอร์ปรี่เซนเตชั่น

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เกิดกิจกรรมการควบคุมโรคติดต่อในตำบลกาลูปัง โดย จนท. อสม.และภาคีเครือข่ายในตำบลที่เข้มแข็ง ชาวบ้านมีการตื่นตัว และให้ความร่วมมือในทุกๆกิจกรรม รู้ตระหนักถึงภัยของโรคต่างๆ ช่วยกัน ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมสร้างนวตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อกิจกรรมการป้องกันโรคติดต่อในปัจจุบัน และในอนาคต และไม่มีผู้ป่วยในพื้นที่ตำบลกาลูปัง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2561 13:12 น.