ออกกำลังกายสร้างสุขภาวะในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ออกกำลังกายสร้างสุขภาวะในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ”
ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะกาฮะรัง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง
พฤษภาคม 2561
ชื่อโครงการ ออกกำลังกายสร้างสุขภาวะในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ที่อยู่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3016-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 พฤษภาคม 2561 ถึง 8 พฤษภาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ออกกำลังกายสร้างสุขภาวะในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ออกกำลังกายสร้างสุขภาวะในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
บทคัดย่อ
โครงการ " ออกกำลังกายสร้างสุขภาวะในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3016-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 พฤษภาคม 2561 - 8 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูงเป็นภัยเงียบที่คุกคามชีวิตของทุกคนนับเป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขสำคัญที่ต้องดูแลอย่างใกล้ชิด เนื่องจากมีความกดดันทางด้านเศรษฐกิจและการแข่งขันในอาชีพการงานที่สูงมาก ต้องเผชิญกับปัญหาหลากหลายที่เข้ามาในชีวิต สร้างความบั่นทอนร่างกายและจิตใจให้ถดถอยลง ส่งผลให้ ความดันโลหิต ในร่างกายสูงตามไปด้วยในรายที่มีภาวะความดันโลหิตสูงมาก อาจนำไปสู่การเสียชีวิตแบบเฉียบพลันได้ ดังนั้นความดันโลหิตสูงจึงเปรียบเสมือนเพชฌฆาตเงียบที่คร่าชีวิตคนจำนวนมากไปแบบไม่รู้ตัว ในกรณีภาวะความดันโลหิตสูงเรื้อรังจะค่อยๆ ทำให้หลอดเลือดภายในร่างกายเสื่อมไป โดยเฉพาะ ๓อวัยวะสำคัญ คือ หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจและกล้ามเนื้อหัวใจ รวมทั้งไต ซึ่งเมื่อมีการตีบหรือแตกของหลอดเลือดในอวัยวะสำคัญเหล่านี้จะทำให้เสียชีวิตได้แบบเฉียบพลัน หรือทำให้เป็นอัมพาตได้สำหรับประเทศไทย จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขคาดว่า มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ประมาณ ๑๐ล้านคนในปีหนึ่งๆมีผู้เสียชีวิตจากโรคแทรกซ้อน ได้แก่ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือด โรคไต โรคอัมพาต เป็นอันดับหนึ่งของโรคทั้งหมดร่วมแสนคน และอัตราผู้พิการก็เพิ่มขึ้นพุงกระฉูดขึ้นไปเรื่อยๆทำให้รัฐสูญเสียงบประมาณค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วย ดังนั้นการป้องกันตั้งแต่ต้นลมด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เป็นวิธีที่ดีที่สุดและประหยัด เพียงควบคุมความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมตลอดเวลาโดยใช้หลัก ๓อ.๒ส. โดยเน้นการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม หลีกเลี่ยงอาหารเค็มจัด อาหารกลุ่มไขมัน ลดอาหารกลุ่มแป้งและน้ำตาล การออกกำลังกายอย่างเหมาะสมให้พอควรอย่างสม่ำเสมอพักผ่อนให้เพียงพอไม่เครียดคิดแง่บวกและงดสูบบุหรี่
สถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในตำบลปะกาฮะรัง โรคความดันโลหิตสูง มีกลุ่มเสี่ยง 488 ราย ผู้ป่วย๒37ราย ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๑7 ราย และโรคเบาหวาน กลุ่มเสี่ยง 191 รายผู้ป่วย 85 ราย ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวาน จำนวน 36 รายในอนาคตมีแนวโน้มผู้ป่วยจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะกาฮะรัง เห็นความสำคัญของการป้องกันโรคดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อจัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ และสร้างทัศนคติที่ดีต่อการออกกำลังกายที่เหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมาย
- สอนการออกกำลังกายด้วยไม้พลอง และการแกว่งแขน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง มีภาวะเป็นโรคแทรกซ้อน ลดลง
- กลุ่มเป้าหมายมาออกกำลังกายที่ รพ.สต.ตามนัด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อจัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ และสร้างทัศนคติที่ดีต่อการออกกำลังกายที่เหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๖๐ ของกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เกี่ยวกับประโยชน์การออกกำลังกายต่อสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
0.00
2
สอนการออกกำลังกายด้วยไม้พลอง และการแกว่งแขน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๔๐ ของกลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายและให้คำมั่นสัญญาจะออกกำลังที่ถูกต้องแบบแผนอย่างต่อเนื่อง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ และสร้างทัศนคติที่ดีต่อการออกกำลังกายที่เหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมาย (2) สอนการออกกำลังกายด้วยไม้พลอง และการแกว่งแขน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ออกกำลังกายสร้างสุขภาวะในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3016-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะกาฮะรัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ออกกำลังกายสร้างสุขภาวะในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ”
ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะกาฮะรัง
พฤษภาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3016-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 พฤษภาคม 2561 ถึง 8 พฤษภาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ออกกำลังกายสร้างสุขภาวะในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ออกกำลังกายสร้างสุขภาวะในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
บทคัดย่อ
โครงการ " ออกกำลังกายสร้างสุขภาวะในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3016-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 พฤษภาคม 2561 - 8 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูงเป็นภัยเงียบที่คุกคามชีวิตของทุกคนนับเป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขสำคัญที่ต้องดูแลอย่างใกล้ชิด เนื่องจากมีความกดดันทางด้านเศรษฐกิจและการแข่งขันในอาชีพการงานที่สูงมาก ต้องเผชิญกับปัญหาหลากหลายที่เข้ามาในชีวิต สร้างความบั่นทอนร่างกายและจิตใจให้ถดถอยลง ส่งผลให้ ความดันโลหิต ในร่างกายสูงตามไปด้วยในรายที่มีภาวะความดันโลหิตสูงมาก อาจนำไปสู่การเสียชีวิตแบบเฉียบพลันได้ ดังนั้นความดันโลหิตสูงจึงเปรียบเสมือนเพชฌฆาตเงียบที่คร่าชีวิตคนจำนวนมากไปแบบไม่รู้ตัว ในกรณีภาวะความดันโลหิตสูงเรื้อรังจะค่อยๆ ทำให้หลอดเลือดภายในร่างกายเสื่อมไป โดยเฉพาะ ๓อวัยวะสำคัญ คือ หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจและกล้ามเนื้อหัวใจ รวมทั้งไต ซึ่งเมื่อมีการตีบหรือแตกของหลอดเลือดในอวัยวะสำคัญเหล่านี้จะทำให้เสียชีวิตได้แบบเฉียบพลัน หรือทำให้เป็นอัมพาตได้สำหรับประเทศไทย จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขคาดว่า มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ประมาณ ๑๐ล้านคนในปีหนึ่งๆมีผู้เสียชีวิตจากโรคแทรกซ้อน ได้แก่ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือด โรคไต โรคอัมพาต เป็นอันดับหนึ่งของโรคทั้งหมดร่วมแสนคน และอัตราผู้พิการก็เพิ่มขึ้นพุงกระฉูดขึ้นไปเรื่อยๆทำให้รัฐสูญเสียงบประมาณค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วย ดังนั้นการป้องกันตั้งแต่ต้นลมด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เป็นวิธีที่ดีที่สุดและประหยัด เพียงควบคุมความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมตลอดเวลาโดยใช้หลัก ๓อ.๒ส. โดยเน้นการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม หลีกเลี่ยงอาหารเค็มจัด อาหารกลุ่มไขมัน ลดอาหารกลุ่มแป้งและน้ำตาล การออกกำลังกายอย่างเหมาะสมให้พอควรอย่างสม่ำเสมอพักผ่อนให้เพียงพอไม่เครียดคิดแง่บวกและงดสูบบุหรี่
สถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในตำบลปะกาฮะรัง โรคความดันโลหิตสูง มีกลุ่มเสี่ยง 488 ราย ผู้ป่วย๒37ราย ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๑7 ราย และโรคเบาหวาน กลุ่มเสี่ยง 191 รายผู้ป่วย 85 ราย ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวาน จำนวน 36 รายในอนาคตมีแนวโน้มผู้ป่วยจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะกาฮะรัง เห็นความสำคัญของการป้องกันโรคดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อจัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ และสร้างทัศนคติที่ดีต่อการออกกำลังกายที่เหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมาย
- สอนการออกกำลังกายด้วยไม้พลอง และการแกว่งแขน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง มีภาวะเป็นโรคแทรกซ้อน ลดลง
- กลุ่มเป้าหมายมาออกกำลังกายที่ รพ.สต.ตามนัด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อจัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ และสร้างทัศนคติที่ดีต่อการออกกำลังกายที่เหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๖๐ ของกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เกี่ยวกับประโยชน์การออกกำลังกายต่อสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน |
0.00 |
|
||
2 | สอนการออกกำลังกายด้วยไม้พลอง และการแกว่งแขน ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๔๐ ของกลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายและให้คำมั่นสัญญาจะออกกำลังที่ถูกต้องแบบแผนอย่างต่อเนื่อง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ และสร้างทัศนคติที่ดีต่อการออกกำลังกายที่เหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมาย (2) สอนการออกกำลังกายด้วยไม้พลอง และการแกว่งแขน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ออกกำลังกายสร้างสุขภาวะในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3016-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะกาฮะรัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......