กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าน้ำ


“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสุเหร่า ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลท่าน้ำ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมัสเตาะ ตาเยะ

ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสุเหร่า ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลท่าน้ำ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสุเหร่า ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าน้ำ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสุเหร่า ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสุเหร่า ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าน้ำ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,960.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันจากสถิติการป่วยและป่วยและเสียชีวิตของคนไทยพบว่าป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพเป็นอันดับต้นๆ เช่น โรคมะเร็งทุกชนิด โรคหัวใจขาดเลือด โรคเส้นเลือดในสมองอุดตันเป็นต้น ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย มีสารปนเปื้อน อาหาารที่ไม่มีมาตรฐาน อาหารแปลกปลอม อาหารสุกๆดิบๆ อาหารที่ไม่สด อาหารที่หมดอายุ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสุเหร่า รับผิดชอบประชากร 3,650 คน จำนวน 3 หมู่บ้าน มีจำนวนหลังคาเรือน 655 หลัง ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพทำนา ทำสวน กรีดยาง และรับจ้าง ครอบครัวมีลักษณะเป็นครอบครัวคู่ การดำเนินนิยมบริโภคอาหารปรุงสุกหรืออาหารถุง เนื่องจากไม่มีเวลา สะดวก และประหยัดกว่า ทำให้มีโอกาสเสี่ยงที่เกิดจากพฤติกรรมดังกล่าวได้ จาการวิเคราะห์สภาพปัญหาสุขภาพของประชาชนในตำบลท่าน้ำ บ้านสุเหร่า ว่ายังป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร เช่น โรคท้องร่วง โรคบิด อาหารเป็นพิษ และโรคติดเชื้อ สาเหตุจากการนิยมบริโภคอาหารแบบถุงมีมากขึ้น และขาดความรู้ในเรื่องการเลือกบริโภคอาหาร
  ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสุเหร่า จึงได้จัดทำโครงการ "คุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสุเหร่า ปีงบประมาณ 2561 " เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้อาหารสดที่วางจำหน่ายปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างมั่นใจปลอดภัยจากสารปนเปื้อน
  3. 3.เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในร้านที่ได้รับการรับรองมาตรฐานความปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. ลงไปสำรวจร้านค้าและตรวจสารปนเปื้อนต่างๆในร้านค้าและมอบชุดกั้นเปื้อนพร้อมหมวก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนเลือกอาหารสดที่วางจำหน่ายปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 2.ประชาชนมีความรู้และสามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างมั่นใจปลอดภัยจากสารปนเปื้อน 3.ให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในร้านที่ได้รับรองมาตรฐาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

มีการอบรมให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบการ ร้านค้าก๋วยเตียว ร้านชำ แม่บ้าน อสม. ชาวบ้าน เกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหาร เกณฑ์ต่างๆของร้านชำ ร้านแผงลอย ร้านก๋วยเตีว การเลือกอาหารมาจำหน่าย เลือกวัตถุดิบมาปรุงอาหาร ส่วนกลุ่มแม่บ้าน อสม. ให้ความรู้เกี่ยวกับ การเลือกอาหารมาบริโภค ความหมายและความสำคัญของอาหาร เพื่อให้เกิดความฉลาดในการบริโภค และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม. ลงไปสำรวจและสารปนเปื้อนแก่สถานประกอบการ ร้านชำ ร้านก๋วยเตียว และมอบผ้ากั้นเปื้อนแก่ผู้ประกอบการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้อาหารสดที่วางจำหน่ายปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างมั่นใจปลอดภัยจากสารปนเปื้อน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในร้านที่ได้รับการรับรองมาตรฐานความปลอดภัย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้อาหารสดที่วางจำหน่ายปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (2) 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างมั่นใจปลอดภัยจากสารปนเปื้อน (3) 3.เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในร้านที่ได้รับการรับรองมาตรฐานความปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) ลงไปสำรวจร้านค้าและตรวจสารปนเปื้อนต่างๆในร้านค้าและมอบชุดกั้นเปื้อนพร้อมหมวก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสุเหร่า ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมัสเตาะ ตาเยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด