กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ในชุมชนหมู่ที่ 4-8 ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี มีร้านเครื่องดื่มทั้งหมด 26 ร้าน เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 11 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 42.3% ของร้านเครื่องดื่มทั้งหมด ร้านอาหารมีทั้งหมด 19 ร้าน เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 10 ร้าน คิดเป็น 90% ของร้านขนาดใหญ่ และ 52.6 % ของร้านอาหารทั้งหมด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ร้านขายอาหารและร้านขายเครื่องดื่มมีความรู้และความเข้าใจถึงผลกระทบจากการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มที่มีรสหวานจัดและเค็มจัด
ตัวชี้วัด : ร้านขายอาหารและเครื่อองดื่มมีความรู้ความเข้าใจถึงผลกระทบจากการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มที่มีรสหวานจัดแและเค็มจัดเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
20.00 20.00

 

2 เพื่อให้ชุมชนได้มีทางเือกในการบริโภคอาหาร/เครื่องดื่มที่มีการควบคุมความเค็และความหวาน
ตัวชี้วัด : ร้านขายอาหารและร้านขายเครื่องดื่มที่เข้าร่วมโครงการผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 60
20.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการเค็มน้อยหวานน้อยอร่อยนาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5198-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง เพื่อให้ร้านขายอาหารและร้านขายเครื่องดื่มมีความรู้แและความเข้าใจถึงผลกระทบจากการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มที่มีรสหวานจัดเเละเค็มจัดและเพื่อให้ชุมชนได้มีทางเลือกในการบริโภคอาหาร/เครื่องดื่มที่มีการควบคุมความเค็มแและความหวาน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้ 1.ร้านอาการและร้านขายเครื่องดื่มมีความรู้และความเข้าใจถึงผลกระทบจากการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มที่มีรสชาติหวานจัดและเค็มจัดมากกว่าร้อยละ 80 2.ชุมชนได้มีทางเลือกในการบริโภคอาหาร/เครื่องดื่มที่มีการควบคุมความเค็มและความหวานร้อยละ 70

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh