กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเครือข่ายตำบลปลอดบุหรี่ (Chalung Kids)
รหัสโครงการ 61-L5273-1-8
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง
วันที่อนุมัติ 14 พฤศจิกายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 27,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง
พี่เลี้ยงโครงการ นางดวงใจ อ่อนแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.007,100.296place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันจะพบว่าประชาชนของประเทศไทย มีอัตราการบริโภคยาสูงของไทยยังไม่ลดจำนวนลงและกลับมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในบางกลุ่ม เช่น กลุ่มสตรี และเยาวชนนอกจากนี้ตามแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติยุทธศาสตร์ที่ 1, 2, 4 และ 5 ประกอบกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ซึ่งเป็นองค์กรหลักในการสนับสนุนเงินทุนเพื่อการควบคุมยาสูบให้กับองค์กรอิสระไม่หวังผลกำไรเช่น เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย มีแนวนโยบายที่ชัดเจนในการพัฒนาการควบคุมยาสูบแบบบูรณาการ รวมถึงภาคีที่เกี่ยวข้องและพยาบาลที่ปฏิบัติงานในระดับชุมชน ทั้งในโรงพยาบาลจังหวัดโรงพยาบาลอำเภอโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในบทบาทในการช่วยเลิกบุหรี่อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นและในชุมชนร่วมใจของสมาชิกในชุมชน และมีการดูแลเฝ้าระวัง ไม่ให้มีการละเมิดสูบบุหรี่ผิดที่ไม่มีการจำหน่ายยาสูบให้กับเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี ไม่มีการแบ่งขายยาสูบ ไม่มีการจำหน่ายยาสูบผิดกฎหมาย และรู้เท่าทันกลยุทธ์ทางการตลาด ตามแผนการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่บริหารระดับประเทศแผนบริหารงบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการที่มีความต้องการใช้บริการเด่นชัด และแผนการให้บริการสร้างเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการให้คำปรึกษาแนะนำ และการให้ความรู้ และสอดคล้องกับนโยบายการบริหารงบกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับกองทุน อปท. และกองทุนสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อสนับสนุนกิจกรรม 4 ประเภท ได้แก่ สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพโดยชุมชนท้องถิ่นในกลุ่มแม่และเด็ก ผู้สูงอายุ ผู่้พิการ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง อนามัยโรงเรียน สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ฟื้นฟู คัดกรองความเสี่ยงในชุมชนนอกจากนี้ยังสอดรับกับวาระแห่งชาติของรัฐบาลที่มุ่งเน้นการรควบคุมแก้ไขการแพร่ระบาดยาเสพติดทีา่กำลังเป็นภัยคุกคามความมั่นคงของประเทศอยู่ในปัจจุบันนี้อีกทั้งยังสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด อำเภอ และตำบลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลอีกด้วย ตามแผนงานนี้กำหนดเลือกจังหวัดสงขลาดังนั้งเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานกิจกรรมโครงการดังกล่าวทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง จึงได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายตำบลปลอดบุหรี่

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อ 1.เพื่อสร้างเยาวชนเครือข่ายในการควบคุมยาสูบในตำบล

จำนวนเยาวชนเครือข่ายภาคี จำนวนอย่างน้อย 1 เครือข่าย

0.00
2 ข้อ 2.เพื่อรณรงค์สร้างกระแสดูแลสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่

มีกิจกรรมรณรงค์สร้างกระแสดูแลสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่ ในพื้นที่อย่างน้อย 1 ครั้ง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 26.00 0 0.00
1 มี.ค. 61 - 30 ก.ย. 61 1.จัดประชุม คณะทำงานตำบลปลอดบุหรี่ 0 2.00 -
1 มี.ค. 61 - 30 ก.ย. 61 2.จัดอบรมสนับสนุน เสริมศักยภาพ สมรรถนะที่จำเป็นให้กับแกนนำ 0 17.00 -
3 เม.ย. 61 - 3 มี.ค. 61 3.จัดกิจกรรมเดินรณรงค์ 0 7.00 -

1.เขียนโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2.ประชุมคณะกรรมการรับผิดชอบโครงการแต่งตั้งคณะทำงาน พร้อมทั้งมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ 3.จัดทำแผนปฏิบัติการและกำหนดขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม4.สำรวจกลุ่มเป้าหมายเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม 5.จัดประชุมให้ความรู้สนับสนุน เสริมศักยภาพ/สมรรถนะที่จำเป็นให้กับเยาวชนแกนนำ เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 2 เดือน6.จัดทำแผนรณรงค์ร่วมกับทีมแกนนำเครือข่าย7.จัดกิจกรรมรณรงค์สร้างกระแสดูแลสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่ในพื้นที่ เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 2 เดือน8.สรุปผลการดำเนินงาน และประเมินผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. แกนนำเยาวชนในพื้นที่ตำบลฉลุงมีความรู้ในเรื่องโทษของบุหรี่2.เกิดเยาชนเครือข่ายในการดำเนินงานตำบลปลอดบุหรี่ 3.ประชาชนเกิดความตระหนักในเรื่องของบุหรี่จากการรณรงค์สร้างกระแสป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่4.มีคลินิกอดบุหรี่ในสถานบริการ5.เกิดสถานที่/ชุมชนปลอดบุหรี่
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2561 16:19 น.