โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใช้และการดูแลเครื่องพ่น
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใช้และการดูแลเครื่องพ่น ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสารีหม๊ะ มะลี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง
กรกฎาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใช้และการดูแลเครื่องพ่น
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 31 กรกฎาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใช้และการดูแลเครื่องพ่น จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใช้และการดูแลเครื่องพ่น
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใช้และการดูแลเครื่องพ่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4131-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 31 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคมาลาเรียให้ได้ผลอย่างรวดเร็วนั้น ต้องตัดวงจรการติดต่อของโรคอย่างทันท่วงที ซึ่งในปัจจุบันนี้ใช้วิธีการพ้นสารเคมีตกข้าง การพ่นฟุ้งกระจายชนิดถูกตัวตายเพื่อกำจัดยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค การพ่นสารเคมีจะบังเกิดผลดีและมีประสิทธิภาพเพียงใดนั้น ขึ้นกับปัจจัยหลายประการ เช่นชนิดของสารเคมี คุณภาพเครื่องพ้นสารเคมี เทคนิคการพ้นสารเคมี และสภาพแวดล้อมขณะปฏิบัติงาน เป็นต้น ยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกนั้นมีชีวนิสัยและพฤติกรรมชอบเกาะพักตามสิ่งห้อยแขวนมากกว่าฝาผนังและบนพื้น มักออกหากินกลางวัน ส่วนยุงก้นปล่องเป็นพาหะนำโรคมาลาเรียชอบเกาะพักตามฝาผนัง ออกหากินในเวลากลางคืน ดังนั้นการพ่นเคมีเพื่อควบคุมกำจัดยุงลายจึงต้องใช้เทคนิคที่ทำให้ละอองน้ำยาลอยฟุ้งคลุมพื้นที่ได้นานพอที่ยุงจะบินมาสัมผัสสารเคมีได้ ส่วนการพ่นสารเคมีตกค้างตามฝาบ้านเป็นวิธีการกำจัดยุงก้นปล่อง สำหรับการพ่นเคมีอาจทำได้ 2 วิธีคือ การพ่นเคมีด้วยเครื่องพ่นระบบหมอกควัน และการพ่นเคมีด้วยเครื่องพ่นระบบฝอยละเอียดซึ่งเครื่องพ่นทั้งเหล่านี้มีหลักการทำงานแตกต่างกัน การบำรุงรักษาเครื่องพ่นเคมีเพื่อให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่เสมอและมีความคงทนอยู่ได้นานเนื่องจากมีราคาแพง จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง
ปัจจุบันนี้หน่วยงานทั้งนอกและในกระทรวงสาธารณสุข มีการนำเครื่องพ่นเคมีมาใช้กันเป็นจำนวนมาก ทั้งชนิดหมอกควันและฝอยละเอียด (ULV) รวมทั้งเครื่องพ่นสารเคมีตกค้าง และบ่อยครั้งที่เครื่องพ่นเหล่านั้นเกิดปัญหาเมื่อนำมาใช้งาน จะส่งผลถึงการดำเนินงานควบคุมโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงทำโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการใช้งานและการดูแลรักษาเครื่องพ่นสารเคมีตกค้าง, เครื่องพ่นหมอกควัน แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำในชุมชน ในเรื่องการใช้สารเคมีและซ่อมบำรุงรักษาเครื่องพ่นเคมีขึ้น เพื่อให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าวสามารถดำเนินการพ่นเคมีได้ถูกต้องและซ่อมบำรุงเครื่องพ่นเคมีเบื้องต้นได้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออก
- 2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่นำโดยแมลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) ผู้เข้าอบรมสามารถดูแลและซ่อมบำรุงรักษาเครื่องพ่นเบื้องต้นได้
2) ผู้เข้าอบรมสามารถดำเนินการพ่นได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามเทคนิค
3) ผู้เข้าอบรมสามารถเลือกใช้สารเคมีได้อย่างถูกต้องและเกิดความปลอดภัย
4) สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียและไข้เลือดออกโดยไม่เกินตัวชี้วัดที่กำหนด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมเชิงปฏิบัติการการใช้งานและการดูแลรักษาเครื่องพ่น
วันที่ 14 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำในชุมชน เข้ารับการอบรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใช้งานและการดูแลรักษาเครื่องพ่นสารเคมีตกค้าง, เครื่องพ่นหมอกควัน จำนวน 80 คน โดยได้รับความรู้ในเรื่องการใช้สารเคมีและซ่อมบำรุงรักษาเครื่องพ่นเคมี ทำให้สามารถดำเนินการพ่นเคมีได้ถูกต้องและซ่อมบำรุงเครื่องพ่นเคมีเบื้องต้นได้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป โดยจากการดำเนินงานในครั้งนี้ ไม่พบผูู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียเพียง 4 คน ซึ่งลดลงจากปีที่ผ่านมา และไม่เกินตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้
80
80
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ ได้ดำเนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้และการดูแลเครื่องพ่น ในวันที่ 14 มิถุนายน 2560 ณ ห้องประชุม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ โดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำในชุมชน เข้ารับการอบรมการใช้งานและการดูแลรักษาเครื่องพ่นสารเคมีตกค้าง, เครื่องพ่นหมอกควัน จำนวน 80 คน โดยได้รับความรู้ในเรื่องการใช้สารเคมีและซ่อมบำรุงรักษาเครื่องพ่นเคมี ทำให้สามารถดำเนินการพ่นเคมีได้ถูกต้องและซ่อมบำรุงเครื่องพ่นเคมีเบื้องต้นได้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป โดยจากการดำเนินงานในครั้งนี้ ไม่พบผูู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียเพียง 4 คน ซึ่งลดลงจากปีที่ผ่านมา และไม่เกินตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
2
2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่นำโดยแมลง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออก (2) 2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่นำโดยแมลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใช้และการดูแลเครื่องพ่น จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสารีหม๊ะ มะลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใช้และการดูแลเครื่องพ่น ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสารีหม๊ะ มะลี
กรกฎาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 31 กรกฎาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใช้และการดูแลเครื่องพ่น จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใช้และการดูแลเครื่องพ่น
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใช้และการดูแลเครื่องพ่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4131-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 31 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคมาลาเรียให้ได้ผลอย่างรวดเร็วนั้น ต้องตัดวงจรการติดต่อของโรคอย่างทันท่วงที ซึ่งในปัจจุบันนี้ใช้วิธีการพ้นสารเคมีตกข้าง การพ่นฟุ้งกระจายชนิดถูกตัวตายเพื่อกำจัดยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค การพ่นสารเคมีจะบังเกิดผลดีและมีประสิทธิภาพเพียงใดนั้น ขึ้นกับปัจจัยหลายประการ เช่นชนิดของสารเคมี คุณภาพเครื่องพ้นสารเคมี เทคนิคการพ้นสารเคมี และสภาพแวดล้อมขณะปฏิบัติงาน เป็นต้น ยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกนั้นมีชีวนิสัยและพฤติกรรมชอบเกาะพักตามสิ่งห้อยแขวนมากกว่าฝาผนังและบนพื้น มักออกหากินกลางวัน ส่วนยุงก้นปล่องเป็นพาหะนำโรคมาลาเรียชอบเกาะพักตามฝาผนัง ออกหากินในเวลากลางคืน ดังนั้นการพ่นเคมีเพื่อควบคุมกำจัดยุงลายจึงต้องใช้เทคนิคที่ทำให้ละอองน้ำยาลอยฟุ้งคลุมพื้นที่ได้นานพอที่ยุงจะบินมาสัมผัสสารเคมีได้ ส่วนการพ่นสารเคมีตกค้างตามฝาบ้านเป็นวิธีการกำจัดยุงก้นปล่อง สำหรับการพ่นเคมีอาจทำได้ 2 วิธีคือ การพ่นเคมีด้วยเครื่องพ่นระบบหมอกควัน และการพ่นเคมีด้วยเครื่องพ่นระบบฝอยละเอียดซึ่งเครื่องพ่นทั้งเหล่านี้มีหลักการทำงานแตกต่างกัน การบำรุงรักษาเครื่องพ่นเคมีเพื่อให้สามารถใช้งานได้ดีอยู่เสมอและมีความคงทนอยู่ได้นานเนื่องจากมีราคาแพง จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ปัจจุบันนี้หน่วยงานทั้งนอกและในกระทรวงสาธารณสุข มีการนำเครื่องพ่นเคมีมาใช้กันเป็นจำนวนมาก ทั้งชนิดหมอกควันและฝอยละเอียด (ULV) รวมทั้งเครื่องพ่นสารเคมีตกค้าง และบ่อยครั้งที่เครื่องพ่นเหล่านั้นเกิดปัญหาเมื่อนำมาใช้งาน จะส่งผลถึงการดำเนินงานควบคุมโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงทำโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการใช้งานและการดูแลรักษาเครื่องพ่นสารเคมีตกค้าง, เครื่องพ่นหมอกควัน แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำในชุมชน ในเรื่องการใช้สารเคมีและซ่อมบำรุงรักษาเครื่องพ่นเคมีขึ้น เพื่อให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าวสามารถดำเนินการพ่นเคมีได้ถูกต้องและซ่อมบำรุงเครื่องพ่นเคมีเบื้องต้นได้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออก
- 2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่นำโดยแมลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 80 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) ผู้เข้าอบรมสามารถดูแลและซ่อมบำรุงรักษาเครื่องพ่นเบื้องต้นได้ 2) ผู้เข้าอบรมสามารถดำเนินการพ่นได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามเทคนิค 3) ผู้เข้าอบรมสามารถเลือกใช้สารเคมีได้อย่างถูกต้องและเกิดความปลอดภัย 4) สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียและไข้เลือดออกโดยไม่เกินตัวชี้วัดที่กำหนด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมเชิงปฏิบัติการการใช้งานและการดูแลรักษาเครื่องพ่น |
||
วันที่ 14 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำในชุมชน เข้ารับการอบรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใช้งานและการดูแลรักษาเครื่องพ่นสารเคมีตกค้าง, เครื่องพ่นหมอกควัน จำนวน 80 คน โดยได้รับความรู้ในเรื่องการใช้สารเคมีและซ่อมบำรุงรักษาเครื่องพ่นเคมี ทำให้สามารถดำเนินการพ่นเคมีได้ถูกต้องและซ่อมบำรุงเครื่องพ่นเคมีเบื้องต้นได้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป โดยจากการดำเนินงานในครั้งนี้ ไม่พบผูู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียเพียง 4 คน ซึ่งลดลงจากปีที่ผ่านมา และไม่เกินตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้
|
80 | 80 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ ได้ดำเนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้และการดูแลเครื่องพ่น ในวันที่ 14 มิถุนายน 2560 ณ ห้องประชุม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังใหม่ โดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำในชุมชน เข้ารับการอบรมการใช้งานและการดูแลรักษาเครื่องพ่นสารเคมีตกค้าง, เครื่องพ่นหมอกควัน จำนวน 80 คน โดยได้รับความรู้ในเรื่องการใช้สารเคมีและซ่อมบำรุงรักษาเครื่องพ่นเคมี ทำให้สามารถดำเนินการพ่นเคมีได้ถูกต้องและซ่อมบำรุงเครื่องพ่นเคมีเบื้องต้นได้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป โดยจากการดำเนินงานในครั้งนี้ ไม่พบผูู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียเพียง 4 คน ซึ่งลดลงจากปีที่ผ่านมา และไม่เกินตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่นำโดยแมลง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 80 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออก (2) 2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่นำโดยแมลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการใช้และการดูแลเครื่องพ่น จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสารีหม๊ะ มะลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......