โครงการฟันสวยด้วยมือแม่
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฟันสวยด้วยมือแม่ ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
ชมรมรักสุขภาพบ้านโคกหิน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ
พฤษภาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการฟันสวยด้วยมือแม่
ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 พฤษภาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟันสวยด้วยมือแม่ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันสวยด้วยมือแม่
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟันสวยด้วยมือแม่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,550.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตำบลท่าเรือตั้งอยู่ทิศเหนือของอำเภอท่าแพ อยู่ในเขตการปกครองขององค์การบริหารตำบลท่าเรือ มีพื้นที่ ๖ หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ ๑ บ้านวังปริง หมู่ที่ ๒ บ้านป่าเสม็ด หมู่ที่ ๓ บ้านไร่ทอน หมู่ที่ ๔ บ้านแป-ระใต้ หมู่ที่ ๕ บ้านควนพัฒนา และหมู่ที่ ๖ บ้านพรุต้นอ้อ มีประชากรจากการสำรวจ ๕,๕๖๒ คน เป็นเพศชาย ๒,๗๑๗ คน เพศหญิง ๒,๘๔๕ คน ประชากรส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวัยทำงาน มีอาชีพเกษตรกรรมคือ ทำสวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน ประมงชายฝั่ง และปลูกผักตามลำดับ
บ้านวังปริง ตั้งอยู่หมู่ที่ ๑ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ทิศเหนือ ติดต่อกับหมู่ที่ ๓ ตำบลแป-ระ ทิศใต้ ติดต่อกับหมู่ที่ ๒ ตำบลท่าเรือ ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลท่าแพ ทิศตะวันตก ติดต่อกับหมู่ที่ ๔ และหมู่ที่ ๕ ตำบลท่าเรือ มีประชากรจากการสำรวจ จำนวน ๑,๒๗๙ คน เป็นเพศชาย จำนวน ๖๑๘ คน เพศหญิง จำนวน ๖๖๑ คน ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมการทำสวนยางพารา มีอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน ๒๔ คน มีอาสาสมัครสาธารณสุขเชี่ยวชาญทันตกรรม จำนวน ๑๕ คน
ประชากรกลุ่มเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี ในพื้นที่หมู่ที่ ๑ บ้านวังปริงมีจำนวน ๕๖ คน มีปัญหาด้านสาธารณสุข คือ ปัญหาฟันน้ำนมผุ จำนวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๕ (ข้อมูลจากผลการดำเนินงานทันตสาธารณสุข รพ.สต.ท่าเรือ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐) ดังนั้น การป้องกันโรคฟันผุในช่วงขวบปีแรกจึงมีความสำคัญมากเพราะวัยนี้ถ้าช่องปากไม่สะอาดจะเอื้อต่อการสะสมของเชื้อจุลินทรีย์ทำให้เกิดฟันผุอย่างรวดเร็วและมักจบลงด้วยการมีฟันผุทั้งปากแต่ถ้าช่วงวัยนี้ช่องปากสะอาดมีแนวโน้มว่าเด็กจะฟันผุน้อยหรือปราศจากฟันผุ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กที่สำคัญในช่วงนี้ได้แก่การควบคุมอาหารหวานและการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ อย่างน้อยวันละ ๒ ครั้งควบคู่ไปกับมาตรการป้องกันโรคฟันผุอื่นๆเช่น การใช้สารฟลูออไรด์ชนิดทาร่วมกับการตรวจคัดกรองเด็กที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุและการให้ทันตสุขศึกษา
ดังนั้น ชมรมรักสุขภาพบ้านโคกหิน หมู่ที่ ๑ บ้านวังปริง จึงได้จัดทำโครงการฟันลูกสวยด้วยมือแม่ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ขึ้น เพื่อเป็นการสร้างเสริมให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี และกระตุ้นให้ผู้ปกครองของเด็กตระหนักถึงความสำคัญ และมีพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุในเด็กเล็กได้ โดยมีแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขเชี่ยวชาญทันตกรรมประจำหมู่บ้าน มีส่วนร่วมในการให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพช่องปากแก่คนในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ ข้อที่ ๑. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี มีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
- ข้อที่ ๒. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี มีทักษะและสามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกวิธี และปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
- ๓. เพื่อให้เด็ก ๐ - ๒ ปี ได้รับการตรวจช่องปาก ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ และเด็กที่มีฟันผุได้รับการส่งต่อรักษากับทันตบุคคลากรอย่างเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๑. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน ๑ วัน
- ๒. ติดตามเยี่ยมบ้านเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี ในพื้นที่หมู่ที่ ๑ บ้านวังปริง จำนวน ๒ ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี มีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก และมีทักษะ สามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกวิธี และปฏิบัติอย่างต่อเนื่องได้
๒. เด็ก ๐ - ๒ ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ และเด็กที่มีฟันผุได้รับการส่งต่อรักษากับทันตบุคคลากรอย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ๑. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน ๑ วัน
วันที่ 15 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมอมรมให้ความรู้แก่ ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 2 ปี จำนวน 2ชั่วโมง
- การขึ้นของฟัน
- อนามัยช่องปากในเด็ก
- โภชนาการกับฟันน้ำนม
- โรคในช่องปากที่พบบ่อยในเด็ก
- การป้องกันการบาดเจ็บทางทันตกรรมในเด็ก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-2 ปี มีความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก
30
0
2. ๒. ติดตามเยี่ยมบ้านเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี ในพื้นที่หมู่ที่ ๑ บ้านวังปริง จำนวน ๒ ครั้ง
วันที่ 12 ธันวาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี และการเช็คช่องปากเด็กที่ฟันยังไม่ขึ้นแก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 -2 ปี
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กอายุ 0 - 2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากอย่าถูกวิธี
30
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
วัตถุประสงค์ ข้อที่ ๑. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี มีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ
- ร้อยละ ๗๐ ของผู้ปกครองเด็กที่มีอายุ ๐ - ๒ ปี มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
0.00
70.00
2
ข้อที่ ๒. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี มีทักษะและสามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกวิธี และปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ ๗๐ ของผู้ปกครองเด็กที่มีอายุ ๐ – ๒ ปี สามารถทำความสะอาดสุขภาพช่องปากของเด็กได้ถูกวิธี
0.00
70.00
3
๓. เพื่อให้เด็ก ๐ - ๒ ปี ได้รับการตรวจช่องปาก ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ และเด็กที่มีฟันผุได้รับการส่งต่อรักษากับทันตบุคคลากรอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ ๗๐ ของเด็กที่มีอายุ ๐ – ๒ ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และได้รับการส่งรักษาต่อในรายที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก
0.00
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
30
30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ ๑. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี มีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก (2) ข้อที่ ๒. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี มีทักษะและสามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกวิธี และปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง (3) ๓. เพื่อให้เด็ก ๐ - ๒ ปี ได้รับการตรวจช่องปาก ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ และเด็กที่มีฟันผุได้รับการส่งต่อรักษากับทันตบุคคลากรอย่างเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน ๑ วัน (2) ๒. ติดตามเยี่ยมบ้านเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี ในพื้นที่หมู่ที่ ๑ บ้านวังปริง จำนวน ๒ ครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฟันสวยด้วยมือแม่ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชมรมรักสุขภาพบ้านโคกหิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฟันสวยด้วยมือแม่ ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
ชมรมรักสุขภาพบ้านโคกหิน
พฤษภาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 พฤษภาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟันสวยด้วยมือแม่ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันสวยด้วยมือแม่
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟันสวยด้วยมือแม่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,550.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตำบลท่าเรือตั้งอยู่ทิศเหนือของอำเภอท่าแพ อยู่ในเขตการปกครองขององค์การบริหารตำบลท่าเรือ มีพื้นที่ ๖ หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ ๑ บ้านวังปริง หมู่ที่ ๒ บ้านป่าเสม็ด หมู่ที่ ๓ บ้านไร่ทอน หมู่ที่ ๔ บ้านแป-ระใต้ หมู่ที่ ๕ บ้านควนพัฒนา และหมู่ที่ ๖ บ้านพรุต้นอ้อ มีประชากรจากการสำรวจ ๕,๕๖๒ คน เป็นเพศชาย ๒,๗๑๗ คน เพศหญิง ๒,๘๔๕ คน ประชากรส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวัยทำงาน มีอาชีพเกษตรกรรมคือ ทำสวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน ประมงชายฝั่ง และปลูกผักตามลำดับ
บ้านวังปริง ตั้งอยู่หมู่ที่ ๑ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ทิศเหนือ ติดต่อกับหมู่ที่ ๓ ตำบลแป-ระ ทิศใต้ ติดต่อกับหมู่ที่ ๒ ตำบลท่าเรือ ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลท่าแพ ทิศตะวันตก ติดต่อกับหมู่ที่ ๔ และหมู่ที่ ๕ ตำบลท่าเรือ มีประชากรจากการสำรวจ จำนวน ๑,๒๗๙ คน เป็นเพศชาย จำนวน ๖๑๘ คน เพศหญิง จำนวน ๖๖๑ คน ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมการทำสวนยางพารา มีอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน ๒๔ คน มีอาสาสมัครสาธารณสุขเชี่ยวชาญทันตกรรม จำนวน ๑๕ คน
ประชากรกลุ่มเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี ในพื้นที่หมู่ที่ ๑ บ้านวังปริงมีจำนวน ๕๖ คน มีปัญหาด้านสาธารณสุข คือ ปัญหาฟันน้ำนมผุ จำนวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๕ (ข้อมูลจากผลการดำเนินงานทันตสาธารณสุข รพ.สต.ท่าเรือ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐) ดังนั้น การป้องกันโรคฟันผุในช่วงขวบปีแรกจึงมีความสำคัญมากเพราะวัยนี้ถ้าช่องปากไม่สะอาดจะเอื้อต่อการสะสมของเชื้อจุลินทรีย์ทำให้เกิดฟันผุอย่างรวดเร็วและมักจบลงด้วยการมีฟันผุทั้งปากแต่ถ้าช่วงวัยนี้ช่องปากสะอาดมีแนวโน้มว่าเด็กจะฟันผุน้อยหรือปราศจากฟันผุ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กที่สำคัญในช่วงนี้ได้แก่การควบคุมอาหารหวานและการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ อย่างน้อยวันละ ๒ ครั้งควบคู่ไปกับมาตรการป้องกันโรคฟันผุอื่นๆเช่น การใช้สารฟลูออไรด์ชนิดทาร่วมกับการตรวจคัดกรองเด็กที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุและการให้ทันตสุขศึกษา
ดังนั้น ชมรมรักสุขภาพบ้านโคกหิน หมู่ที่ ๑ บ้านวังปริง จึงได้จัดทำโครงการฟันลูกสวยด้วยมือแม่ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ขึ้น เพื่อเป็นการสร้างเสริมให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี และกระตุ้นให้ผู้ปกครองของเด็กตระหนักถึงความสำคัญ และมีพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุในเด็กเล็กได้ โดยมีแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขเชี่ยวชาญทันตกรรมประจำหมู่บ้าน มีส่วนร่วมในการให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพช่องปากแก่คนในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ ข้อที่ ๑. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี มีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
- ข้อที่ ๒. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี มีทักษะและสามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกวิธี และปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
- ๓. เพื่อให้เด็ก ๐ - ๒ ปี ได้รับการตรวจช่องปาก ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ และเด็กที่มีฟันผุได้รับการส่งต่อรักษากับทันตบุคคลากรอย่างเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๑. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน ๑ วัน
- ๒. ติดตามเยี่ยมบ้านเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี ในพื้นที่หมู่ที่ ๑ บ้านวังปริง จำนวน ๒ ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 30 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี มีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก และมีทักษะ สามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกวิธี และปฏิบัติอย่างต่อเนื่องได้
๒. เด็ก ๐ - ๒ ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ และเด็กที่มีฟันผุได้รับการส่งต่อรักษากับทันตบุคคลากรอย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ๑. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน ๑ วัน |
||
วันที่ 15 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำกิจกรรมอมรมให้ความรู้แก่ ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 2 ปี จำนวน 2ชั่วโมง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
30 | 0 |
2. ๒. ติดตามเยี่ยมบ้านเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี ในพื้นที่หมู่ที่ ๑ บ้านวังปริง จำนวน ๒ ครั้ง |
||
วันที่ 12 ธันวาคม 2562กิจกรรมที่ทำฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี และการเช็คช่องปากเด็กที่ฟันยังไม่ขึ้นแก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 -2 ปี ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กอายุ 0 - 2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากอย่าถูกวิธี
|
30 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ ข้อที่ ๑. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี มีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ - ร้อยละ ๗๐ ของผู้ปกครองเด็กที่มีอายุ ๐ - ๒ ปี มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก |
0.00 | 70.00 |
|
|
2 | ข้อที่ ๒. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี มีทักษะและสามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกวิธี และปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : - ร้อยละ ๗๐ ของผู้ปกครองเด็กที่มีอายุ ๐ – ๒ ปี สามารถทำความสะอาดสุขภาพช่องปากของเด็กได้ถูกวิธี |
0.00 | 70.00 |
|
|
3 | ๓. เพื่อให้เด็ก ๐ - ๒ ปี ได้รับการตรวจช่องปาก ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ และเด็กที่มีฟันผุได้รับการส่งต่อรักษากับทันตบุคคลากรอย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด : - ร้อยละ ๗๐ ของเด็กที่มีอายุ ๐ – ๒ ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และได้รับการส่งรักษาต่อในรายที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก |
0.00 | 70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | 30 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 30 | 30 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ ๑. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี มีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก (2) ข้อที่ ๒. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี มีทักษะและสามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกวิธี และปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง (3) ๓. เพื่อให้เด็ก ๐ - ๒ ปี ได้รับการตรวจช่องปาก ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ และเด็กที่มีฟันผุได้รับการส่งต่อรักษากับทันตบุคคลากรอย่างเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน ๑ วัน (2) ๒. ติดตามเยี่ยมบ้านเด็กอายุ ๐ - ๒ ปี ในพื้นที่หมู่ที่ ๑ บ้านวังปริง จำนวน ๒ ครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฟันสวยด้วยมือแม่ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชมรมรักสุขภาพบ้านโคกหิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......