โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุนิสา ยี่สุ่นทรง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง
สิงหาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-17 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4131-1-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กรกฎาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยกระทรวงมหาดไทยได้จัดทำแนวทางการปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอย “จังหวัดสะอาด” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งเน้นการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิน ภายใต้หลักการ 3 Rs และหลักการประชารัฐ ประกอบกับ Roadmap การกำจัดขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ โดยมีนโยบายการแก้ปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดใหม่ ให้ดำเนินการจัดการขยะมูลฝอยตามรูปแบบใหม่ คือ ต้องลดการผลิตขยะและคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่บ้านเรือน รวมทั้งการสร้างวินัยของคนในชาติ คือ การให้ความรู้กับประชาชน และการบังคับใช้กฎหมาย
ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง มีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นจำนวน 10.36 ตันต่อวัน (ควดการณ์จากอัตราการเกิดขยะมูลฝอยของพื้นที่ อบต. เฉลี่ย 0.91 กก/คน/วัน) สามารถเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยพื้นที่จัดเก็บขยะครอบคลุมพื้นที่ 10 ชุมชน มีรถเก็บขนขยะเพียง 1 คัน ทำให้ไม่เพียงพอต่อการเก็บรวบรวมขยะที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ซึ่งตกค้างเหล่านี้ หากไม่มีการกำจัดขยะให้ถูกต้องเหมาะสมแล้ว อาจเป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรค ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชนได้ ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยจึงเป็นปัญหาสำคัญที่ต้องการการแก้ไข้ และจะต้องอาศัยความร่วมมือของชุมชน ทั้งนี้การสร้างจิตสำนึกของเยาวชนในการดูแลรักษาความสะอาดของสิ่งแวดล้อม และให้มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ถือเป็นกลุ่มเป้าหมายหนึ่งที่มีความสำคัญต่อระบบการจัดการขยะ เป็นการสร้างจิตสำนึกให้กับเยาวชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย โดยการคัดแยกขยะตามประเภท การนำขยะสะอาดมาสร้างสิ่งประดิษฐ์ การเลือกใช้วัสดุที่ย่อยสลายง่ายและการทิ้งขยะให้ถูกที่ เป็นต้น อันจะทำให้ลดปริมาณขยะที่จะนำไปกำจัดทิ้งขั้นสุดท้ายลงได้
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาขยะ จึงได้จัดทำโครงการ “ส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา” ประจำปีงบประมาณ 2560 ขึ้นเพื่อปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกแก่เยาวชนให้มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง อันจะส่งผลให้เยาวชนมีรายได้จากการขายขยะและสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้และสร้างจิตสำนึกแก่นักเรียนในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
- 2. เพื่อรณรงค์ส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
560
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) นักเรียนมีการคัดแยะขยะก่อนทิ้งลงถัง
2) นักเรียนมีจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
3) นักเรียนมีรายได้จาการขายขยะรีไซเคิล
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและครูในการคัดแยกขยะและดูแลสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน
วันที่ 13 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง ได้ดำเนินการจัดโครงการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา ประจำปี 2560 ระหว่างวันที่ 13 - 20 สิงหาคม 2560 ณ โรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง จำนวน 5 โรงเรียน มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้นจำนวน 595 คน โดยพบว่า นักเรียนให้ความสนใจในการทำกิจกรรม และจากการประเมินความพึงพอใจขของผู้เข้าร่วมโครงการ พบว่า ความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 68.63
590
595
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง ได้ดำเนินการจัดโครงการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา ประจำปี 2560 ระหว่างวันที่ 13 - 20 สิงหาคม 2560 ณ โรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง จำนวน 5 โรงเรียน มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้นจำนวน 595 คน โดยพบว่า นักเรียนให้ความสนใจในการทำกิจกรรม และจากการประเมินความพึงพอใจขของผู้เข้าร่วมโครงการ พบว่า ความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 68.63 โดยการอบรมครั้งนี้เป็นการสร้างจิตสำนึกให้กับเยาวชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย โดยการคัดแยกขยะตามประเภท การนำขยะสะอาดมาสร้างสิ่งประดิษฐ์ การเลือกใช้วัสดุที่ย่อยสลายง่ายและการทิ้งขยะให้ถูกที่ เป็นต้น ซึ่งช่วยทำให้ลดปริมาณขยะที่จะนำไปกำจัดทิ้งขั้นสุดท้ายลงได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อเสริมสร้างความรู้และสร้างจิตสำนึกแก่นักเรียนในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
ตัวชี้วัด :
2
2. เพื่อรณรงค์ส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
560
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
560
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้และสร้างจิตสำนึกแก่นักเรียนในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง (2) 2. เพื่อรณรงค์ส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสุนิสา ยี่สุ่นทรง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุนิสา ยี่สุ่นทรง
สิงหาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-17 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4131-1-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กรกฎาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยกระทรวงมหาดไทยได้จัดทำแนวทางการปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอย “จังหวัดสะอาด” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งเน้นการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิน ภายใต้หลักการ 3 Rs และหลักการประชารัฐ ประกอบกับ Roadmap การกำจัดขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ โดยมีนโยบายการแก้ปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดใหม่ ให้ดำเนินการจัดการขยะมูลฝอยตามรูปแบบใหม่ คือ ต้องลดการผลิตขยะและคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่บ้านเรือน รวมทั้งการสร้างวินัยของคนในชาติ คือ การให้ความรู้กับประชาชน และการบังคับใช้กฎหมาย ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง มีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นจำนวน 10.36 ตันต่อวัน (ควดการณ์จากอัตราการเกิดขยะมูลฝอยของพื้นที่ อบต. เฉลี่ย 0.91 กก/คน/วัน) สามารถเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยพื้นที่จัดเก็บขยะครอบคลุมพื้นที่ 10 ชุมชน มีรถเก็บขนขยะเพียง 1 คัน ทำให้ไม่เพียงพอต่อการเก็บรวบรวมขยะที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ซึ่งตกค้างเหล่านี้ หากไม่มีการกำจัดขยะให้ถูกต้องเหมาะสมแล้ว อาจเป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรค ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชนได้ ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยจึงเป็นปัญหาสำคัญที่ต้องการการแก้ไข้ และจะต้องอาศัยความร่วมมือของชุมชน ทั้งนี้การสร้างจิตสำนึกของเยาวชนในการดูแลรักษาความสะอาดของสิ่งแวดล้อม และให้มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ถือเป็นกลุ่มเป้าหมายหนึ่งที่มีความสำคัญต่อระบบการจัดการขยะ เป็นการสร้างจิตสำนึกให้กับเยาวชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย โดยการคัดแยกขยะตามประเภท การนำขยะสะอาดมาสร้างสิ่งประดิษฐ์ การเลือกใช้วัสดุที่ย่อยสลายง่ายและการทิ้งขยะให้ถูกที่ เป็นต้น อันจะทำให้ลดปริมาณขยะที่จะนำไปกำจัดทิ้งขั้นสุดท้ายลงได้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาขยะ จึงได้จัดทำโครงการ “ส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา” ประจำปีงบประมาณ 2560 ขึ้นเพื่อปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกแก่เยาวชนให้มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง อันจะส่งผลให้เยาวชนมีรายได้จากการขายขยะและสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้และสร้างจิตสำนึกแก่นักเรียนในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
- 2. เพื่อรณรงค์ส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 560 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) นักเรียนมีการคัดแยะขยะก่อนทิ้งลงถัง 2) นักเรียนมีจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน 3) นักเรียนมีรายได้จาการขายขยะรีไซเคิล
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและครูในการคัดแยกขยะและดูแลสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน |
||
วันที่ 13 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง ได้ดำเนินการจัดโครงการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา ประจำปี 2560 ระหว่างวันที่ 13 - 20 สิงหาคม 2560 ณ โรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง จำนวน 5 โรงเรียน มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้นจำนวน 595 คน โดยพบว่า นักเรียนให้ความสนใจในการทำกิจกรรม และจากการประเมินความพึงพอใจขของผู้เข้าร่วมโครงการ พบว่า ความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 68.63
|
590 | 595 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง ได้ดำเนินการจัดโครงการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา ประจำปี 2560 ระหว่างวันที่ 13 - 20 สิงหาคม 2560 ณ โรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง จำนวน 5 โรงเรียน มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้นจำนวน 595 คน โดยพบว่า นักเรียนให้ความสนใจในการทำกิจกรรม และจากการประเมินความพึงพอใจขของผู้เข้าร่วมโครงการ พบว่า ความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 68.63 โดยการอบรมครั้งนี้เป็นการสร้างจิตสำนึกให้กับเยาวชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย โดยการคัดแยกขยะตามประเภท การนำขยะสะอาดมาสร้างสิ่งประดิษฐ์ การเลือกใช้วัสดุที่ย่อยสลายง่ายและการทิ้งขยะให้ถูกที่ เป็นต้น ซึ่งช่วยทำให้ลดปริมาณขยะที่จะนำไปกำจัดทิ้งขั้นสุดท้ายลงได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้และสร้างจิตสำนึกแก่นักเรียนในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. เพื่อรณรงค์ส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 560 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 560 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้และสร้างจิตสำนึกแก่นักเรียนในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง (2) 2. เพื่อรณรงค์ส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการคัดแยกขยะในโรงเรียนตาดีกา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสุนิสา ยี่สุ่นทรง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......