กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขัน


“ ส่งเสริมความรู้การจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน ”

ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเสาวภานวลจันทร์

ชื่อโครงการ ส่งเสริมความรู้การจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน

ที่อยู่ ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5301-61-2-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมความรู้การจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมความรู้การจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมความรู้การจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5301-61-2-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 68,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การจัดการขยะมูลฝอยของตำบลควนขัน ปีงบประมาณที่ผ่านมาได้จัดประชุมแกนนำชุมชนในแต่ละหมู่บ้าน เพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาการจัดการขยะ โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะซึ่งปัญหาส่วนใหญ่เกิดจาการจัดการขยะอินทรีย์หรือขยะสดในครัวเรือน เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ไม่มีการคัดแยกขยะได้ทิ้งลงถังขยะ ทำให้ถังขยะมีกลิ่นหม็นเป็นแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรค สุนัขคุ้ยเขี่ยถังขยะ ขยะตกหล่นกระจัดกระจายเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม ไม่น่ามองต่อผู้พบเห็น ประกอบกับถังขยะมีสภาพชำรุด ระยะเวลาการใช้งานมากกว่าสิบปี จากปัญหาดังกล่าวที่ประชุมเสนอให้เก็บถังขยะออกจากพื้นที่หมู่บ้านตำบลควนขัน พร้อมสร้างความเข้าใจ จัดประชุมประชาคม ประชาสัมพันธ์ แนะนำประชาชน แต่ละหลังคาเรือนให้มีการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน โดย 1 อินทรีย์หรือขยะสดในครัวเรือนนำไปเลี้ยงสัตว์ หรือทำปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยชีวภาพ2. ขยะรีไซเคิลหรือขยะที่สามารถนำไปขายได้ให้คัดแยกใส่ในภาชนะเพื่อนำไปจำหน่ายหรือนำกลับมาใช้ซ้ำ3.ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ เเบตเตอรี่รถยนต์ ถ่านไฟฉาย กระป๋องสีสเปรย์ ให้นำไปใส่ลงถังขยะอันตรายของหมู่บ้าน 4.ขยะทั่วไปหรือขยะที่ย่อยสลายยากและไม่คุ้มค่าในการนำไปรไซเคิล เช่น ซองบะหม่่สำเร็จรูป เปลีือกลุูกอม ถุงขนม ถุงพลาสติก
การดำเนินกิจกรรมการจัดการขยะมูลฝอยให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชน รวมทั้งเด็กและเยาวชนจากการทิ้งขยะลงถังขยะโดยไม่ได้คัดแยกขยะ ทิ้งขยะลงถังขยะเวลาใดก็ได้ เปลี่ยนมาเป็นคัดเเยกขยะก่อนทิ้ง โดยส่งเสริมให้แกนนำชุชนได้แก่ ให้มีความรู้ด้านการจัดการขยะมูลฝอยทั้งในครัวเรือนและชุมชน สามารถถ่ายทอดความรู้แก่ประชาชนในครัวเรือนได้อย่างดีเพื่อให้ประชาชนได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะที่ดีอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ส่งผลให้ตำบลควนขันมีการจัดการขยะมูลฝอยอย่างยั่งยืนและสิ่งแวดล้อมน่าอยู่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.พัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชน แกนนำนักเรียน อสม.เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ด้านการจัดการขยะในครัวเรือนชุมชน
  2. ส่งเสริมหัวหน้าครัวเรือน หรือแกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีความรู้ด้านการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน และรณรงค์กำจัดขยะมูลฝอยโดยใช้หลัก 3Rs คือการใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมประชาคม
  2. อบรมแกนนำชุมชน/แกนนำนักเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

แกนนำชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจเป็นแบบอย่างที่ดีในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชน สามารถถ่ายทอดความรู้แก่ประชาชน เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนส่งผลให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และเป้็นเมืองน่าอยู่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.พัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชน แกนนำนักเรียน อสม.เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ด้านการจัดการขยะในครัวเรือนชุมชน
ตัวชี้วัด : แกนนำชุมชน อสม.กำนัน ผู้ใหญ่ คณะกรรมการชมรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและเครือข่าย ทสม.ตำบลควนขัน และผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 120 คน ได้เข้ารับการอบรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชน
0.00

 

2 ส่งเสริมหัวหน้าครัวเรือน หรือแกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีความรู้ด้านการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน และรณรงค์กำจัดขยะมูลฝอยโดยใช้หลัก 3Rs คือการใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของส่วนราชการ สถานศึกษา ศาสนสถาน ภาคเอกชน และสถานประกอลการในตำบลควนขัน จัดกิจกรรมการลดและการคัดแยกขยะมูลฝอยหรือการนำขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ใช้หลัก 3Rs คือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.พัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชน แกนนำนักเรียน อสม.เจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ด้านการจัดการขยะในครัวเรือนชุมชน (2) ส่งเสริมหัวหน้าครัวเรือน หรือแกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีความรู้ด้านการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน และรณรงค์กำจัดขยะมูลฝอยโดยใช้หลัก 3Rs คือการใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมประชาคม  (2) อบรมแกนนำชุมชน/แกนนำนักเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมความรู้การจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5301-61-2-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเสาวภานวลจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด