กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขัน


“ การพัฒนาระบบผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ”

ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางอรภัทรมรรคาเขต

ชื่อโครงการ การพัฒนาระบบผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5301-61-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"การพัฒนาระบบผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การพัฒนาระบบผู้ป่วยโรคเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " การพัฒนาระบบผู้ป่วยโรคเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5301-61-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุุบันนปํัญหาสุขภาพคนไทยเกิดจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ มะเร็งซึ่งมีผลให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ลดต่ำลงจากภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ เช่น ความผิดปกติของปลายปราสาท จอประสาทตาเสื่อม โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคไต ถึงแม้โรคเหล่านี้จะเป็นโรคเรื้อรังที่ยากต่อการรักษาให้หายขาด เพราะเป็นโรคที่ต้องได้รับการดูแลตนเองให้ถูกต้องเป็นสิ่งจำเป็นจช่วยลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือโรคแทรกซ้อนบางอจงอย่างอาจป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นได้ ดังนั้นผู้ป่วยควรได้รับการพัฒนาศักยภาพการดูแล เพื่อป้องกันและควบคุมโรคจะสามารถลดการป่วย พิการ และตายจากโรค จากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนขัน มีการสำรวจและรายงานการขึ้นทะเบียนในปีงบประมาณ 2558-2560 มีผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนด้วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รวมทั้งตำบลที่รักษา รพ.สต.และสถานบริการอื่่น) จำนวน 574 ราย 627 ราย และ 688 ราย ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทึกปี โดยทาง รพ.สต.ควนขัน ได้ให้บริการคลินิกเรื้อรังโดยสหวิชาชีพและ อสม.เพื่อให้บริการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวมผู้ป่วยสามารถเข้ารับบริการได้สะดวก ลดระยะเวลาในการไปรอรับบริการที่โรงพยาบาล
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนขัน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหา และการมีส่วนร่วมของชุมชนจึงได้ทำโครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังโดยการจัดตั้งทีมงานจิตอาสา สร้างเครือข่ายจิตอาสาในการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ที่มีความตั้งใจ และเสียสละ ที่จะเป็นผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรังในพื้นที่ โครงการนี้ได้เน้นไปที่การรักษา ให้ความรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและตรวจเยี่ยมดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้โดยประสานงานกับโรงพยาบาลสตูล ส่งแพทย์และพยาบาลมาตรวจรักษาและให้คำแนะนำต่าง ๆ ในคลินิก นักกายบำบัด ดูแล ฟื้นฟู ผู้ป่วยผู้พิการอสม.แกนนำชุมชน ที่มีจิตอาสาออกเยี่ยมเยือนติดตามดูแลอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนนำมาพัฒนาสุขภาวะของชุมชนอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการดูแลและรับการรักษาตามมาตรฐานคลินิกคุณภาพ
  2. 2.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้
  3. 3.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว และมีความพึงพอใจในการับบริการ
  4. 4.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อสุขภาพที่ดีในระยะยาว
  5. 5.เพื่อลดปัญหาการขาดนัดของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  6. 6.เพื่อการติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรังและการประสานงานที่รวดเร็วขึ้น
  7. 7.เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลได้ร่วมกิจกรรม Self Health Group

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงโครงการ
  2. กิจกรรมตรวจสุขภาพ เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนและให้ความรู้แก่ผู้รับบริการในคลินิก
  3. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Self Health Group (จำนวน 2 รุ่น)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 56
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 56
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธฺภาพและครอบคลุมทุกด้าน โดยทีมสหวิชาชีและทีมงานจิตอาสา 2.ผู้ป่วยและญาติมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเรื้อรัง และสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง 3.การมารับการรักษาพยาบาล ด้วยภาวะเเทรกซ้อนลดน้อยลง 4.ชุมชนมีส่วนร่วมในความรับผิดชอบสุขภาพของประชาชนในชุมชน 5.ผู้ป่วยและญาติมีความรู้และสามารถนำไปใช้ในการให้การดูแลผู้ป่วยรายอื้นได้ 6.การจัดตั้งชมรมหรือเครือข่ายของผู้ป่วยโรคเรื้อรังทีมงานจิตอาสา เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7.การคงไว้ซึ่งระบบและความยั่งยืนของโครงการ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการดูแลและรับการรักษาตามมาตรฐานคลินิกคุณภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว และมีความพึงพอใจในการับบริการ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อสุขภาพที่ดีในระยะยาว
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 5.เพื่อลดปัญหาการขาดนัดของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

6 6.เพื่อการติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรังและการประสานงานที่รวดเร็วขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

7 7.เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลได้ร่วมกิจกรรม Self Health Group
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 112
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 56
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 56
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการดูแลและรับการรักษาตามมาตรฐานคลินิกคุณภาพ (2) 2.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ (3) 3.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว และมีความพึงพอใจในการับบริการ (4) 4.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อสุขภาพที่ดีในระยะยาว (5) 5.เพื่อลดปัญหาการขาดนัดของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (6) 6.เพื่อการติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรังและการประสานงานที่รวดเร็วขึ้น (7) 7.เพื่อให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลได้ร่วมกิจกรรม Self Health Group

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการ (2) กิจกรรมตรวจสุขภาพ เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนและให้ความรู้แก่ผู้รับบริการในคลินิก (3) กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Self Health Group (จำนวน 2 รุ่น)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การพัฒนาระบบผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5301-61-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรภัทรมรรคาเขต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด