กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการตรวจสารเคมีในเลือดเกษตรกร ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไทรพอน

ชื่อโครงการ โครงการตรวจสารเคมีในเลือดเกษตรกร

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L339-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจสารเคมีในเลือดเกษตรกร จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจสารเคมีในเลือดเกษตรกร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจสารเคมีในเลือดเกษตรกร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L339-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2560 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือจะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมองผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธ์ุ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น บ้านโคกโหนดหมู่ที่ ๖ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ ๘๐ ของพื้นที่ทั้งหมดซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ปลูกข้าว ทำสวน ปลูกพืชผัก ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้างและยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงอยู่ จากข้อมูลดังกล่าว แสดงว่าเกษตรกรในบ้านโคกโหนดหมู๋ที่ ๖ ต.หารเทา อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง ยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งในการนำมานั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง ดังน้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไทรพอน จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในบ้านโคกโหนดหมู่ที่ ๖ ต.หารเทา อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง จึงได้จัดทำโครงการตรวจสารเคมีในเลือดเกษตรกรขึ้นเพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในบ้านโคกโหนดหมู่ที่ ๖ ต.หารเทา อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เกษตรกรได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
  2. 2.เกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดในระดับเสี่ยง และไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลียนพฤติกรรมเรื่องการใช้สารเคมีในการเกษตรกรอย่างถูกต้องและปลอดภัย
  3. 3.เกษตรกรที่เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดซ้ำภายใน 1 เดือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร จัดทำสมุดบันทึกสุขภาพประจำตัวสำหรับเกษตรกรบ้านโคกโหนดหมู่ที่ ๖ ต.หารเทา อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทราบถึงสถานการณ์สารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในเลือดของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในบ้านโคกโหนดหมู่ที่ 6 ต.หารเทา อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง 2.เพื่อจะได้นำข้อมูลมาใช้ในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การเฝ้าระวังและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพของบ้านโคกโหนดหมู่ที่ 6 ต.หารเทา อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เกษตรกรได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
ตัวชี้วัด : จำนวนเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจหาปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสโลหิต
0.00

 

2 2.เกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดในระดับเสี่ยง และไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลียนพฤติกรรมเรื่องการใช้สารเคมีในการเกษตรกรอย่างถูกต้องและปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ประเมินผลจากผลการตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสโลหิต
0.00

 

3 3.เกษตรกรที่เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดซ้ำภายใน 1 เดือน
ตัวชี้วัด : ประเมินผลจากผลการตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสโลหิต
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เกษตรกรได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด (2) 2.เกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดในระดับเสี่ยง และไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลียนพฤติกรรมเรื่องการใช้สารเคมีในการเกษตรกรอย่างถูกต้องและปลอดภัย (3) 3.เกษตรกรที่เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดซ้ำภายใน 1 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร จัดทำสมุดบันทึกสุขภาพประจำตัวสำหรับเกษตรกรบ้านโคกโหนดหมู่ที่ ๖ ต.หารเทา อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจสารเคมีในเลือดเกษตรกร จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L339-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไทรพอน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด