กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขัน


“ อสม.ควนขัน ร่วมกันต้านภัยไข้เลือดอกและโรคติดต่อ ต่อเนื่อง ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเสาวภานวลจันทร์

ชื่อโครงการ อสม.ควนขัน ร่วมกันต้านภัยไข้เลือดอกและโรคติดต่อ ต่อเนื่อง ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5301-61-2-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"อสม.ควนขัน ร่วมกันต้านภัยไข้เลือดอกและโรคติดต่อ ต่อเนื่อง ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อสม.ควนขัน ร่วมกันต้านภัยไข้เลือดอกและโรคติดต่อ ต่อเนื่อง ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " อสม.ควนขัน ร่วมกันต้านภัยไข้เลือดอกและโรคติดต่อ ต่อเนื่อง ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5301-61-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา จากข้อมูลทางระบาดวิทยาของ รพ.สต.ควนขัน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ในปี พ.ศ.253-2559 พบว่าในตำบลควนขัน ีผู้ป่วยไข้เลือดออกรวมผู้ป่วยสงสัย จำนวน 72 ,30,50,21,15,14,และ 64 ราย ในปี 2559 พบผู้ป่วยยืนยันแค่ 13 ปี 2560 พบผู้ป่วย 29 ราย เป็นผู้ป่วยยืนยัน 2 ราย จากสถานการณ์ดังกล่าว จำเป็นต้องดำเนินการและหาวิธีการในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกให้มีคุณภาพและรัดกุมมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ให้เหลือไม่เกิน 50ต่อแสนประชากร
  2. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย และกำจัดลูกนำ้ยุงลายในโรงเรียนและชุมชน
  3. 3.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิีิธี และเหมาะสม
  4. 4.ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายต่อเนื่องสม่ำเสมอ
  5. 5. เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อทั่วไ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.เรื่องการป้องกันไข้เลือดออกและโรคติดต่อ
  2. รณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย
  3. พ่นสารเคมีกำจัดยุงลายในโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 165
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนและ อสม.ร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกนำ้ยุงลายโดยเกิดจากความตระหนักและส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ของประชาชนหมู่ที่ 3ลดลงดัชนีลูกนำ้ยุงลาย(HI) ในหมู่ที่ 1-6 ตำบลควนขัน มีค่าน้อยกว่า 10


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ให้เหลือไม่เกิน 50ต่อแสนประชากร
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย และกำจัดลูกนำ้ยุงลายในโรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิีิธี และเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4.ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 5. เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อทั่วไ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 165
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 165
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ให้เหลือไม่เกิน 50ต่อแสนประชากร (2) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย และกำจัดลูกนำ้ยุงลายในโรงเรียนและชุมชน (3) 3.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิีิธี และเหมาะสม (4) 4.ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายต่อเนื่องสม่ำเสมอ (5) 5. เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อทั่วไ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.เรื่องการป้องกันไข้เลือดออกและโรคติดต่อ (2) รณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย (3) พ่นสารเคมีกำจัดยุงลายในโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อสม.ควนขัน ร่วมกันต้านภัยไข้เลือดอกและโรคติดต่อ ต่อเนื่อง ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5301-61-2-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเสาวภานวลจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด