โครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายซอฟฟาน แปแนะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง
มิถุนายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2560 ถึง 30 มิถุนายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4131-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2560 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,648.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและการส่งเสริมพัฒนาการเพื่อให้การดำเนินไปโดยมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์สูงที่สุด บุคลากรที่เกี่ยวข้องควรทราบนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข และยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนพื้นฐาน ครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งรวมถึงการได้รับวัคซีนกระตุ้นตามกำหนดที่เหมาะสมสำหรับวัคซีนแต่ละชนิดด้วย ซึ่งหากเด็กกลุ่มวัยดังกล่าววัยดังกล่าวมีอัตราป่วยและตายด้วยวัยที่ไม่สมควรเนื่องจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแล้วหมู่บ้านชุมชนและประเทศชาติจะพัฒนาไปได้อย่างไรในอนาคต ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องดำเนินการซึ่งการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะต้องจัดให้แก่ประชาชนด้วยความสะดวก และปลอดภัย งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ต้องดำเนินการให้ครอบคลุมประชากรเป้าหมายในระดับสูงที่สุดและมีความต่อเนื่องตลอดไป งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะพยายามป้องกันประชาชนจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนให้ได้มากที่สุด โดยการเพิ่มชนิดของวัคซีนที่ใช่ ทั้งนี้โดยความเหมาะสมกับสถานการณ์ทางระบาดวิทยาของโรค และกำลังทรัพยากรด้านสาธารณสุขของประเทศและต้องดำเนินการในทุกพื้นที่ โดยประสานสอดคล้องกับแผนงานหรือโครงการด้านสาธารณสุขอื่นๆ เช่น งานอนามัยโรงเรียน งานโภชนาการพัฒนาการ งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออื่นๆ ทั้งนี้ เพื่อให้ทุกงานที่เกี่ยวข้องมีประสิทธิภาพสูงที่สุด และเกิดประโยชน์สูงที่สุดแก่ประชาชน
สำหรับเด็ก 0 – 5 ปี การส่งเสริมสุขภาพที่สำคัญ ได้แก่ การส่งเสริมให้ได้รับวัคซีนตามวัย ส่งเสริมให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย มีร่างกายที่แข็งแรง สติปัญญาที่ฉลาด สุขภาพดี ปลอดภัยจากโรคที่ป้องกันได้ผู้ปกครองจึงเป็นบุคคลสำคัญในการดูแลเด็กให้ได้รับสิทธิประโยชน์ตามเกณฑ์พื้นฐาน
ฉะนั้นเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย จากรายงานอัตราความครอบคลุมวัคซีนขั้นพื้นฐานพบว่าเด็ก 0 – 5 ปี ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา ได้รับวัคซีนไม่ครอบคลุม จึงจำเป็นต้องดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับการฉีดวัคซีนและประเมินพัฒนาการและโภชนาการทุกคน เพื่อการป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุดังกล่าวไปในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
871
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ มีสุขภาพดี พัฒนาการเหมาะสมตามวัย
- ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลเด็กอย่างถูกต้อง
- ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเด็กที่มีปัญหา ส่งผลให้ชุมชนมีการจัดการสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมให้ความรู้
วันที่ 17 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์อายุ เข้าร้วมอบรมโครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ในวันที่ 17 สิงหาคม 2560 ณ ห้องประชุมโรงเรียนบ้านอัยเยอร์เวงจำนวน 200 คน เป็นร้อยละ 100
200
200
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ดังนี้
1. คนผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์อายุ เข้าร้วมอบรมโครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ในวันที่ 17 สิงหาคม 2560 ณ ห้องประชุมโรงเรียนบ้านอัยเยอร์เวงจำนวน 200 คน เป็นร้อยละ 100
2. ผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ
2.1 ด้านการสร้างภูมิคุ้มกันโรค
- เด็กอายุครบ 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 60.58
- เด็กอายุครบ 2 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 61.59
- เด็กอายุครบ 3 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 50.31
- เด็กอายุครบ 5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 48.66
2.2 ด้านส่งเสริมพัฒนาการ
- เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย คิดเป็นร้อยละ 97.50
- เด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ คิดเป็นร้อยละ 62.72
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
871
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
871
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายซอฟฟาน แปแนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายซอฟฟาน แปแนะ
มิถุนายน 2560
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2560 ถึง 30 มิถุนายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4131-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2560 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,648.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและการส่งเสริมพัฒนาการเพื่อให้การดำเนินไปโดยมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์สูงที่สุด บุคลากรที่เกี่ยวข้องควรทราบนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข และยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนพื้นฐาน ครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งรวมถึงการได้รับวัคซีนกระตุ้นตามกำหนดที่เหมาะสมสำหรับวัคซีนแต่ละชนิดด้วย ซึ่งหากเด็กกลุ่มวัยดังกล่าววัยดังกล่าวมีอัตราป่วยและตายด้วยวัยที่ไม่สมควรเนื่องจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแล้วหมู่บ้านชุมชนและประเทศชาติจะพัฒนาไปได้อย่างไรในอนาคต ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องดำเนินการซึ่งการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะต้องจัดให้แก่ประชาชนด้วยความสะดวก และปลอดภัย งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ต้องดำเนินการให้ครอบคลุมประชากรเป้าหมายในระดับสูงที่สุดและมีความต่อเนื่องตลอดไป งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะพยายามป้องกันประชาชนจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนให้ได้มากที่สุด โดยการเพิ่มชนิดของวัคซีนที่ใช่ ทั้งนี้โดยความเหมาะสมกับสถานการณ์ทางระบาดวิทยาของโรค และกำลังทรัพยากรด้านสาธารณสุขของประเทศและต้องดำเนินการในทุกพื้นที่ โดยประสานสอดคล้องกับแผนงานหรือโครงการด้านสาธารณสุขอื่นๆ เช่น งานอนามัยโรงเรียน งานโภชนาการพัฒนาการ งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออื่นๆ ทั้งนี้ เพื่อให้ทุกงานที่เกี่ยวข้องมีประสิทธิภาพสูงที่สุด และเกิดประโยชน์สูงที่สุดแก่ประชาชน สำหรับเด็ก 0 – 5 ปี การส่งเสริมสุขภาพที่สำคัญ ได้แก่ การส่งเสริมให้ได้รับวัคซีนตามวัย ส่งเสริมให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย มีร่างกายที่แข็งแรง สติปัญญาที่ฉลาด สุขภาพดี ปลอดภัยจากโรคที่ป้องกันได้ผู้ปกครองจึงเป็นบุคคลสำคัญในการดูแลเด็กให้ได้รับสิทธิประโยชน์ตามเกณฑ์พื้นฐาน ฉะนั้นเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย จากรายงานอัตราความครอบคลุมวัคซีนขั้นพื้นฐานพบว่าเด็ก 0 – 5 ปี ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา ได้รับวัคซีนไม่ครอบคลุม จึงจำเป็นต้องดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับการฉีดวัคซีนและประเมินพัฒนาการและโภชนาการทุกคน เพื่อการป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุดังกล่าวไปในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 871 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ มีสุขภาพดี พัฒนาการเหมาะสมตามวัย
- ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลเด็กอย่างถูกต้อง
- ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเด็กที่มีปัญหา ส่งผลให้ชุมชนมีการจัดการสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 17 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์อายุ เข้าร้วมอบรมโครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ในวันที่ 17 สิงหาคม 2560 ณ ห้องประชุมโรงเรียนบ้านอัยเยอร์เวงจำนวน 200 คน เป็นร้อยละ 100
|
200 | 200 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ดังนี้
1. คนผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์อายุ เข้าร้วมอบรมโครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ในวันที่ 17 สิงหาคม 2560 ณ ห้องประชุมโรงเรียนบ้านอัยเยอร์เวงจำนวน 200 คน เป็นร้อยละ 100
2. ผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ
2.1 ด้านการสร้างภูมิคุ้มกันโรค
- เด็กอายุครบ 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 60.58
- เด็กอายุครบ 2 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 61.59
- เด็กอายุครบ 3 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 50.31
- เด็กอายุครบ 5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 48.66
2.2 ด้านส่งเสริมพัฒนาการ
- เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย คิดเป็นร้อยละ 97.50
- เด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ คิดเป็นร้อยละ 62.72
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 871 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 871 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคนอัยเยอร์เวงใส่ใจลูกน้อย มีพัฒนาการสมวัยและได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายซอฟฟาน แปแนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......