โครงการจู่โจมยุลาย ทำลายไข้เลือดออก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการจู่โจมยุลาย ทำลายไข้เลือดออก ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายรุสดี ซียง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการจู่โจมยุลาย ทำลายไข้เลือดออก
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการจู่โจมยุลาย ทำลายไข้เลือดออก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการจู่โจมยุลาย ทำลายไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการจู่โจมยุลาย ทำลายไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4131-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 63,990.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วย วิสัยทัศน์พัฒนาระบบสุขภาพจังหวัดยะลา ปี 2560 ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพประชาชนตามกลุ่มวัยและแก้ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายโดยใช้กลไกเครือข่ายสุขภาพอำเภอ(DHS) พัฒนาระบบควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งกำหนดตัวชี้วัดอัตราป่วยไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร จึงต้องเร่งหาทางป้องกันแก้ไขอย่างเป็นระบบ และทันท่วงที
อำเภอเบตง ในปีที่ผ่านๆ มามีการแพร่ระบาดของโรคไขเลือดออก ซึ่งนับตั้งแต่ปี 2555 ถึงปี 2559 มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างน่าเป็นห่วงมาโดยตลอด ตั้งแต่เดือน มกราคม – พฤศจิกายน ปี 2559 ในส่วนพื้นที่เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอัยเยอร์เวง พบผู้ป่วยทั้งสิ้น 3 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 37.96 ต่อแสนประชากร ซึ่งแนวโน้มในปี 2560 จะมีโอกาสเป็นไข้เลือดออกมากขึ้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการรณรงค์ป้องกัน และการทำงานในเชิงรุกที่ดี
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอัยเยอร์เวง ตำบลอัยเยอร์เวง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อรณรงค์การป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยมุ่งหวังให้อัตราป่วยไข้เลือดออกลดลงอันจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีของประชาชนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
- เพื่อลดค่า CI ในโรงเรียนให้เท่ากับ 0
- เพื่อลดค่า HI ในชุมชนให้น้อยกว่า 10
- เพื่อพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน
- เพื่อกำกัดยุงลายในรัศมี 100 เมตร ณ จุดที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงเหลือไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร
2. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 20 ของค่าเฉลี่ย 5ปีย้อนหลัง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมควบคุมการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก
วันที่ 2 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ดำเนินกิจกรรมต่า่งๆ ในพื้นที่ หมู่ที่ 1,2,3,6,8,9,10 ดังนี้
1. กิจกรรมการควบคุมโรค
- การพ่นหมอกควันทุกครัวเรือนในเขตพื้นที่ระบาดซ้ำซ้อนจำนวน 1,227 หลังคาเรือน ระหว่างวันที่ 1-30 สิงหาคม 2560
- ใส่ทรายอะเบท 3 เดือนครั้งทุกหลังคาเรือนโดยแกนนำ อสม.
- ใช้สเปยร์กำจัดยุงในจุดที่พบผู้ป่วย เพื่อควบคุมการแพร่ระบาด
3.2 กิจกรรมสาสาธิตรณรงค์ควบคุมโรค
- การกำจัดยุงลายตัวแก่โดยใช้ก้านไม้ตียุงทาง มะพร้าว
0
1,227
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินโครงการจู่โจมยุลาย ทำลายไข้เลือดออก สรุปผลได้ดังนี้
1. สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร โดยพบผู้ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก ระหว่างเดือนมกราคม-กันยายน 2560 จำนวนทั้งสิ้น 4 ราย คิดเป็นอัตรา 51.87 ต่อแสนประชากร
2. สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
3. สามารถลดค่า CI ในโรงเรียนให้เท่ากับ 0
4. สามารถลดค่า HI ในชุมชนให้น้อยกว่า 10 โดยผลการดำเนินงานเท่ากับ 4.8
5. พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อนจำนวนทั้งสิ้น 1,229 หลังคาเรือน
6. สามารถกำกัดยุงลายในรัศมี 100 เมตร ณ จุดที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อลดค่า CI ในโรงเรียนให้เท่ากับ 0
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อลดค่า HI ในชุมชนให้น้อยกว่า 10
ตัวชี้วัด :
5
เพื่อพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน
ตัวชี้วัด :
6
เพื่อกำกัดยุงลายในรัศมี 100 เมตร ณ จุดที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร (2) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (3) เพื่อลดค่า CI ในโรงเรียนให้เท่ากับ 0 (4) เพื่อลดค่า HI ในชุมชนให้น้อยกว่า 10 (5) เพื่อพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน (6) เพื่อกำกัดยุงลายในรัศมี 100 เมตร ณ จุดที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการจู่โจมยุลาย ทำลายไข้เลือดออก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายรุสดี ซียง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการจู่โจมยุลาย ทำลายไข้เลือดออก ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายรุสดี ซียง
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการจู่โจมยุลาย ทำลายไข้เลือดออก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการจู่โจมยุลาย ทำลายไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการจู่โจมยุลาย ทำลายไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4131-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 63,990.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วย วิสัยทัศน์พัฒนาระบบสุขภาพจังหวัดยะลา ปี 2560 ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพประชาชนตามกลุ่มวัยและแก้ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายโดยใช้กลไกเครือข่ายสุขภาพอำเภอ(DHS) พัฒนาระบบควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งกำหนดตัวชี้วัดอัตราป่วยไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร จึงต้องเร่งหาทางป้องกันแก้ไขอย่างเป็นระบบ และทันท่วงที อำเภอเบตง ในปีที่ผ่านๆ มามีการแพร่ระบาดของโรคไขเลือดออก ซึ่งนับตั้งแต่ปี 2555 ถึงปี 2559 มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างน่าเป็นห่วงมาโดยตลอด ตั้งแต่เดือน มกราคม – พฤศจิกายน ปี 2559 ในส่วนพื้นที่เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอัยเยอร์เวง พบผู้ป่วยทั้งสิ้น 3 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 37.96 ต่อแสนประชากร ซึ่งแนวโน้มในปี 2560 จะมีโอกาสเป็นไข้เลือดออกมากขึ้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการรณรงค์ป้องกัน และการทำงานในเชิงรุกที่ดี ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอัยเยอร์เวง ตำบลอัยเยอร์เวง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อรณรงค์การป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยมุ่งหวังให้อัตราป่วยไข้เลือดออกลดลงอันจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีของประชาชนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
- เพื่อลดค่า CI ในโรงเรียนให้เท่ากับ 0
- เพื่อลดค่า HI ในชุมชนให้น้อยกว่า 10
- เพื่อพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน
- เพื่อกำกัดยุงลายในรัศมี 100 เมตร ณ จุดที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงเหลือไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร 2. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 20 ของค่าเฉลี่ย 5ปีย้อนหลัง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมควบคุมการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก |
||
วันที่ 2 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ดำเนินกิจกรรมต่า่งๆ ในพื้นที่ หมู่ที่ 1,2,3,6,8,9,10 ดังนี้
1. กิจกรรมการควบคุมโรค
|
0 | 1,227 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินโครงการจู่โจมยุลาย ทำลายไข้เลือดออก สรุปผลได้ดังนี้ 1. สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร โดยพบผู้ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก ระหว่างเดือนมกราคม-กันยายน 2560 จำนวนทั้งสิ้น 4 ราย คิดเป็นอัตรา 51.87 ต่อแสนประชากร 2. สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง 3. สามารถลดค่า CI ในโรงเรียนให้เท่ากับ 0 4. สามารถลดค่า HI ในชุมชนให้น้อยกว่า 10 โดยผลการดำเนินงานเท่ากับ 4.8 5. พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อนจำนวนทั้งสิ้น 1,229 หลังคาเรือน 6. สามารถกำกัดยุงลายในรัศมี 100 เมตร ณ จุดที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อลดค่า CI ในโรงเรียนให้เท่ากับ 0 ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อลดค่า HI ในชุมชนให้น้อยกว่า 10 ตัวชี้วัด : |
|
|||
5 | เพื่อพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน ตัวชี้วัด : |
|
|||
6 | เพื่อกำกัดยุงลายในรัศมี 100 เมตร ณ จุดที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร (2) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (3) เพื่อลดค่า CI ในโรงเรียนให้เท่ากับ 0 (4) เพื่อลดค่า HI ในชุมชนให้น้อยกว่า 10 (5) เพื่อพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อน (6) เพื่อกำกัดยุงลายในรัศมี 100 เมตร ณ จุดที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการจู่โจมยุลาย ทำลายไข้เลือดออก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4131-1-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายรุสดี ซียง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......