ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) ”
ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านตูแตหรำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care)
ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2561 - L8010 - 2 - 05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care)
บทคัดย่อ
โรงเรียนบ้านตูแตหรำ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนานักเรียนในด้านสุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ จึงได้เริ่มโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของนักเรียนที่มีปัญหา เช่น นักเรียนน้ำหนักเกินเกณฑ์ เนื่องจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกภาวะทุพโภชนาการ ทำให้นักเรียนฟันผุ ปัญหานักเรียนขาดเรียนบ่อย เนื่องจากป่วยเป็นไข้เลือดออก และปัญหานักเรียนเป็นเหา ซึ่งปัญหาต่างๆ จะส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนทั้งสิ้น
ผลการดำเนินโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) เพื่อแก้ปัญหาต่างๆนี้ ผลปรากฎว่า
1. ร้อยละ 95 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีวามรู้ เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้
ร้อยละ 100 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทุพโภชนาการโดยแยกกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนเกินเกณฑ์ จำนวน 13 คน ให้รับประทานอาหารตามเมนูอาหารที่เหมาะสมกับภาวะโภชนาการของนักเรียน ให้ความรู้และประเมินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ผลปรากฎว่านักเรียนมีน้ำหนักลดลง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15 มีน้ำหนักเท่าเดิม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 23.08 และน้ำหนักเพิ่มขึ้นจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 30.76
ร้อยละ 80 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ปรากฎว่า นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 61.54
ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
ร้อยละ 70 นักเรียนที่เป็นเหา นักเรียนเป็นเหาลดลงจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00
อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือกออกลดลง เนื่องจากช่วยกันกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนกับโรงเรียน
ผลของการหาค่า HI และ CI ในหมู่บ้าน และโรงเรียนบ้านตูแตหรำ พบว่า ค่า HI เท่ากับ 6 และค่า CI เท่ากับ 3 ซึ่งมีค่าน้อยกว่าค่ามาตรฐาน จึงทำให้ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก
จากการดำเนินโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) ได้รับผลการพัฒนาที่ดีในการดูแลสุขภาพของนักเรียนจึงส่งผลให้การเรียนรู้ของนักเรียนดีขึ้นด้วย
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กวัยเรียนและเยาวชนเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญต่อการสร้างรากฐานความมั่นคงต่อการพัฒนาประเทศทั้งในปัจจุบันและอนาคต การที่เด็กจะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพได้นั้นจะต้องได้รับการเลี้ยงดูและส่งเสริมสุขภาพให้เหมาะสมกับวัย เมื่อสุขภาพดีจะส่งผลต่อการเรียนทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพของเด็กทั้งด้านองค์ความรู้จากการเรียนการสอนรวมถึงการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพที่ดีให้กับเด็กโรงเรียนเป็นสถานที่หนึ่ง เป็นที่รวมของเด็กนักเรียน ซึ่งมาจากที่ต่างๆกัน มีฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดล้อมและพฤติกรรมอนามัยที่แตกต่างกันไป โรคที่พบในเด็กนักเรียนและอุบัติเหตุต่างๆ อาจเกิดขึ้นได้เสมอ หากนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนทราบแนวทางปฏิบัติต่างๆ ในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นแล้ว ก็สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันให้ปลอดภัยได้
โรงเรียนบ้านตูแตหรำหมู่ที่ 12ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล มีสภาพทั่วไปเป็นชุมชนแออัดประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ รับจ้าง ทำการประมงจากนายทุน หาเช้ากินค่ำ มีรายได้น้อย ครอบครัวแตกแยก นักเรียนอาศัยอยู่กับ ปู่ ย่า ตา ยาย นักเรียนส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพที่ส่งผลต่อการเรียนของเด็กได้แก่ ปัญหานักเรียนอยู่ในภาวะทุพโภชนาการ คิดเป็นร้อยละ 40นักเรียนฟันผุร้อยละ60นักเรียนเป็นเหาร้อยละ 40และเป็นไข้เลือดออกร้อยละ 10ปัญหาดังกล่าวสาเหตุมาจากพฤติกรรมต่างๆ เช่น ปัญหาฟันผุกว่าครึ่ง สาเหตุส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากเด็กในวัยนี้ชอบกินขนมขบเคี้ยวและดื่มน้ำอัดลม เป็นสาเหตุของปัญหาฟันผุ เพราะมีส่วนผสมของแป้งและน้ำตาลสูง นักเรียนยังขาดความรู้มีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพของตนเอง ในการเลือกรับประทานอาหาร การแปรงฟัน การรักษาความสะอาดของศีรษะและเส้นผม การกำจัดและป้องกันตัวเองจากยุง
โรงเรียนบ้านตูแตหรำ เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียน ส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ติดตามทุพโภชนาการเด็ก และเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก รวมทั้งป้องกันตนเองจากโรคภัยต่างๆ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อให้ผู้ปกครองและ นักเรียนมีความรู้ และ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก
- 2 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กนักเรียน
- 3 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันและสุขภาพกายที่เหมาะสม
- 4 เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 2 เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการเด็ก
- กิจกรรมที่ 3 ฟันดี มีสุข (กิจกรรมต่อเนื่อง)
- กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ให้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง
- กิจกรรมที่ 4 สลัด สะบัดเหา
- กิจกรรมที่ 5 ไข้เลือดออก
- กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
101
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก สุขภาพในช่องปาก สุขภาพกายและป้องกันโรคไข้เลือดออก
- มีการติดตามและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กทุกราย
- นักเรียนมีสุขภาพช่องปากและฟันที่แข็งแรง
- นักเรียนรู้วิธีการกำจัดเหา และมีสุขภาพกายที่เหมาะสม
- อัตราป่วยของนักเรียนจากโรคไข้เลือดออกลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่ 3 ฟันดี มีสุข (กิจกรรมต่อเนื่อง)
วันที่ 16 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.จัดซื้อและอุปกรณ์การแปรงฟันเพื่อสาธิตและรณรงค์แปรงฟันหลังรับประทานอาหาร คนละ 1 ชุด
สาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธี
รณรงค์ให้เด็กนักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันทุกวัน โดยมีแกนนำนักเรียนเป็นผู้กำกับดูแลการแปรง และมีเพลงประกอบขณะแปรงฟัน
4.แกนนำนักเรียนตรวจสอบความสะอาดหลังแปรงฟัน พร้อมบันทึกผล
5.กรณีมีเด็กฟันผุให้แกนนำนักเรียนรายงานครูประจำชั้นเพื่อส่งไปรับการรักษาที่ถูกต้องต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก
1.ได้รู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกต้อง
2.การเลือกใช้อุปกรณ์การดูแลสุขภาพช่องปากให้เหมาะสมกับช่วงวัย
3.นักเรียนแปรงฟันอย่างถูกวิธี ช่วยลดวามเสี่ยงต่อฟันผุ โรคเหงือก และปัญหาเกี่ยวกับฟันอื่นๆ เมื่อนักเรียนไม่มีปัญหาฟันผุ สุขภาพช่องปากนักเรียนก็จะดี
ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
101
0
2. กิจกรรมที่ 2 เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการเด็ก
วันที่ 21 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กนักเรียนระดับอนุบาล ถึง ประถมศึกษาปีที 6
2. แยกประเภทนักเรียนประเภทนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการพร้อมแจ้งผู้ปกครองให้ทราบ
3. จัดทำคู่มือเมนูอาหารแต่ละชนิด คุณประโยชน์ของอาหารแต่ละชนิดและโภชนาการสำหรับเด็ก
4. นักเรียนที่มีปัญหาโภชนาการเกิน และต่ำ แจ้งผู้ปกครองเพื่อหาแนวทางการแก้ไขที่ถูกต้องโดยวิธีการมีส่วนร่วมโดยสหวิชาชีพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการดำเนินงาน
1.ได้คัดเลือกนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์เข้ารับการควบคุมการบริโภคอาหาร
2.ได้จัดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพให้กับนักเรียนที่มีน้ำหนักเกิน
3.ขอความร่วมมือกับผู้ปกครองนักเรียนในการควบคุมการบริโภคอาหารในขณะอยู่ที่บ้าน
4.นักเรียนสามารถเลือกชนิดอาหารที่จะรับประทานได้เหมาะสมกับร่างกายตนเอง โดยเลือกอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าต่อร่างกาย ซึ่งการปฏิบัตินี้มีความสม่ำเสมอจนเป็นนิสัย ส่งผลให้น้ำหนักลดลง ร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมกับวัย มีสุขภาพแข็งแรง มีกำลังในการทำกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวัน
101
0
3. กิจกรรมที่ 4 สลัด สะบัดเหา
วันที่ 12 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
แนะนำพืชสมุนไพรที่มีสรรพคุณการกำจัดเหาและวิธีการนำไปใช้ในการกำจัดเหา
สาธิตวิธีการกำจัดเหาโดยมีผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม
รณรงค์กำจัดเหาในนักเรียนสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
นักเรียนแกนนำสุขภาพตรวจสุขภาพเด็กนักเรียนสัปดาห์ละ 1 ครั้ง พร้อมลงบันทึกรายงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการดำเนินงาน
นักเรียนรู้วิธีการกำจัดเหา และมีสุขภาพกายที่เหมาะสม
-นักเรียนสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการกำจัดเหาได้
-นักเรียนสามารถดูแลรักษาสุขภาพผลของตนเองให้สะอาด เพื่อป้องกันการเป็นเหาซ้ำอีก
-โดยใช้ใบน้อยหน่ามาใช้ในการกำจัดเหา และตรวจผมของนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
ผลสัมฤทธื์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
ร้อยละ 70 นักเรียนที่เป็นเหา นักเรียนเป็นเหาลดลง จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00
184
0
4. กิจกรรมที่ 5 ไข้เลือดออก
วันที่ 26 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.จัดจ้างทำป้ายไวนิล ในการรณรงค์ไข้เลือดออกเดือนละ 1 ครั้งจำนวน 5 ครั้ง
2.รณรงค์พร้อมกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน โดยนักเรียนและผู้ปกครอง เดือนละ 1 ครั้ง
3.จัดกิจกรรมทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน และห้องน้ำสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
4.สำรวจลูกน้ำยุงลายเพื่อหาค่า HI / CI เพื่อหาแนวโน้มความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
- รณรงค์การจัดการขยะที่ถูกหลักสุขาภิบาลในชุมชนโดยนักเรียนและผู้ปกครอง
6.กรณีพบนักเรียนป่วยที่มีอาการเข้าได้กับโรคไข้เลือดออกโรงเรียนดำเนินการแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขโดยเร็วเพื่อดำเนินการป้องกัน และสอบสวนโรคต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก
-ได้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก เช่น การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
-ได้รับความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
-ร่วมกับชุมชน กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงและลูกน้ำยุงลาย รอบบริเวณโรงเรียนและบริเวณบ้านอย่างต่อเนื่องทุกๆสัปดาห์ โดยการเปลี่ยนน้ำในโอ่งหรือน้ำในถัง คว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง เช่น ชามเก่า กระป๋อง กะลา เพื่อป้องกันยุงลายวางไข่ นอกจากนี้ยังใส่ทรายอะเบทลงในถังน้ำเพื่อทำงายไข่ยุงอีกด้วย
ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
1.อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง เนื่องจากช่วยกันกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนกับโรงเรียน
2.ผลของการหาค่า HI และ CI ในหมู่บ้าน และโรงเรียนบ้านตูแตหรำ พบว่า ค่า HI เท่ากับ 6 และค่า CI เท่ากับ 3 ซึ่งมีค่าน้อยกว่าค่ามาตรฐาน จึงทำให้ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก
184
0
5. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ให้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง
วันที่ 10 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการ
ให้ความรู้เรื่องสุขภาพในช่องปากเช่น ด้านสุขภาพเหงือกและฟันการรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
ให้ความรู้เรื่องสุขวิทยาส่วนบุคคล เช่น ร่างกาย ผิวหนัง ผม เล็บ เป็นต้น
ให้ความรู้เรื่องการควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออก เป็นต้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการดำเนินงาน
1.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
-การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสมกับวัย
-ลดการรับประทานขนมขบเคี้ยวและน้ำอัดลม
-นักเรียนสามารถเลือกชนิดอาหารที่จะรับประทานได้เหมาะสมกับร่างกายตนเอง โดยเลือกอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าต่อร่างกาย ซึ่งการปฏิบัตินี้มีความสม่ำเสมอจนเป็นนิสัย ส่งผลให้น้ำหนักลดลง ร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมกับวัย มีสุขภาพแข็งแรง มีกำลังในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน
2.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก
-ได้รู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกต้อง
-การเลือกใช้อุปกรณ์การดูแลสุขภาพช่องปากให้เหมาะสมกับช่วงวัย
-นักเรียนแปรงฟันอย่างถูกวิธี ช่วยลดวามเสี่ยงต่อฟันผุ โรคเหงือก และปัญหาเกี่ยวกับฟันอื่นๆ เมื่อนักเรียนไม่มีปัญหาฟันผุ สุขภาพช่องปากนักเรียนก็จะดี
3.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขวิทยา
-การดูแลสุขภาพกายตั้งแต่หัวจรดเท้า
-การรักษาความสะอาดของร่างกายในวัยเด็กให้เหมาะสมกับช่วงวัย
-ให้ครู และผู้ปกครองช่วยกันตรวจสอบสุขวิทยานักเรียนเบื้องต้นเป็นประจำ
-การทำความสะอาดร่างกายเป็นประจำ ช่วยลดการเกิดโรคผิวหนังให้กับนักเรียน ทำให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายทำงานอย่างปกติ และมีประสิทธิภาพ ทำให้ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
4.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก
-ได้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก เช่น การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
-ได้รับความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
-ร่วมกับชุมชน กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงและลูกน้ำยุงลาย รอบบริเวณโรงเรียนและบริเวณบ้านอย่างต่อเนื่องทุกๆสัปดาห์ โดยการเปลี่ยนน้ำในโอ่งหรือน้ำในถัง คว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง เช่น ชามเก่า กระป๋อง กะลา เพื่อป้องกันยุงลายวางไข่ นอกจากนี้ยังใส่ทรายอะเบทลงในถังน้ำเพื่อทำงายไข่ยุงอีกด้วย
ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
1.ร้อยละ 95 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีวามรู้ เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้
2.ร้อยละ 100 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทุพโภชนาการโดยแยกกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนเกินเกณฑ์ จำนวน 13 คน ให้รับประทานอาหารตามเมนูอาหารที่เหมาะสมกับภาวะโภชนาการของนักเรียน ให้ความรู้และประเมินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ผลปรากฎว่านักเรียนมีน้ำหนักลดลง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15 มีน้ำหนักเท่าเดิม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 23.08 และน้ำหนักเพิ่มขึ้นจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 30.76
3.ร้อยละ 80 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ปรากฎว่า นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 61.54
184
0
6. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
วันที่ 30 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ประเมินผลสำเร็จของโครงการ
รายงานผลการดำเนินโครงการต่อกองทุน อบต.กำแพง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการดำเนินงาน1.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
-การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสมกับวัย
-ลดการรับประทานขนมขบเคี้ยวและน้ำอัดลม
-นักเรียนสามารถเลือกชนิดอาหารที่จะรับประทานได้เหมาะสมกับร่างกายตนเอง โดยเลือกอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าต่อร่างกาย ซึ่งการปฏิบัตินี้มีความสม่ำเสมอจนเป็นนิสัย ส่งผลให้น้ำหนักลดลง ร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมกับวัย มีสุขภาพแข็งแรง มีกำลังในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน
2.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก
-ได้รู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกต้อง
-การเลือกใช้อุปกรณ์การดูแลสุขภาพช่องปากให้เหมาะสมกับช่วงวัย
-นักเรียนแปรงฟันอย่างถูกวิธี ช่วยลดวามเสี่ยงต่อฟันผุ โรคเหงือก และปัญหาเกี่ยวกับฟันอื่นๆ เมื่อนักเรียนไม่มีปัญหาฟันผุ สุขภาพช่องปากนักเรียนก็จะดี
3.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขวิทยา
-การดูแลสุขภาพกายตั้งแต่หัวจรดเท้า
-การรักษาความสะอาดของร่างกายในวัยเด็กให้เหมาะสมกับช่วงวัย
-ให้ครู และผู้ปกครองช่วยกันตรวจสอบสุขวิทยานักเรียนเบื้องต้นเป็นประจำ
-การทำความสะอาดร่างกายเป็นประจำ ช่วยลดการเกิดโรคผิวหนังให้กับนักเรียน ทำให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายทำงานอย่างปกติ และมีประสิทธิภาพ ทำให้ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
4.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก
-ได้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก เช่น การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
-ได้รับความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
-ร่วมกับชุมชน กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงและลูกน้ำยุงลาย รอบบริเวณโรงเรียนและบริเวณบ้านอย่างต่อเนื่องทุกๆสัปดาห์ โดยการเปลี่ยนน้ำในโอ่งหรือน้ำในถัง คว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง เช่น ชามเก่า กระป๋อง กะลา เพื่อป้องกันยุงลายวางไข่ นอกจากนี้ยังใส่ทรายอะเบทลงในถังน้ำเพื่อทำงายไข่ยุงอีกด้วย
5.การติดตามและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็ก
-ได้คัดเลือกนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์เข้ารับการควบคุมการบริโภคอาหาร
-ได้จัดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพให้กับนักเรียนที่มีน้ำหนักเกิน
-ขอความร่วมมือกับผู้ปกครองนักเรียนในการควบคุมการบริโภคอาหารในขณะอยู่ที่บ้าน
-นักเรียนสามารถเลือกชนิดอาหารที่จะรับประทานได้เหมาะสมกับร่างกายตนเอง โดยเลือกอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าต่อร่างกาย ซึ่งการปฏิบัตินี้มีความสม่ำเสมอจนเป็นนิสัย ส่งผลให้น้ำหนักลดลง ร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมกับวัย มีสุขภาพแข็งแรง มีกำลังในการทำกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวัน
6.นักเรียนรู้วิธีการกำจัดเหา และมีสุขภาพกายที่เหมาะสม
-นักเรียนสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการกำจัดเหาได้
-นักเรียนสามารถดูแลรักษาสุขภาพผลของตนเองให้สะอาด เพื่อป้องกันการเป็นเหาซ้ำอีก
-โดยใช้ใบน้อยหน่ามาใช้ในการกำจัดเหา และตรวจผมของนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
7.นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ ไปปรับเปรี่ยนพฤติกรรมในการดำเนินชีวิต และสามารถแนะนำผู้อื่นในเรื่องการดูแลสุขภาพได้
-การดูแลสุขภาพ เพื่อให้สุขภาพแข็งแรง สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างปกติ
ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
1.ร้อยละ 95 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีวามรู้ เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้
2.ร้อยละ 100 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทุพโภชนาการโดยแยกกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนเกินเกณฑ์ จำนวน 13 คน ให้รับประทานอาหารตามเมนูอาหารที่เหมาะสมกับภาวะโภชนาการของนักเรียน ให้ความรู้และประเมินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ผลปรากฎว่านักเรียนมีน้ำหนักลดลง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15 มีน้ำหนักเท่าเดิม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 23.08 และน้ำหนักเพิ่มขึ้นจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 30.76
3.ร้อยละ 80 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ปรากฎว่า นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 61.54
4.ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
5.ร้อยละ 70 นักเรียนที่เป็นเหา นักเรียนเป็นเหาลดลงจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00
6.อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือกออกลดลง เนื่องจากช่วยกันกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนกับโรงเรียน
7.ผลของการหาค่า HI และ CI ในหมู่บ้าน และโรงเรียนบ้านตูแตหรำ พบว่า ค่า HI เท่ากับ 6 และค่า CI เท่ากับ 3 ซึ่งมีค่าน้อยกว่าค่ามาตรฐาน จึงทำให้ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินงาน
1.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
-การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสมกับวัย
-ลดการรับประทานขนมขบเคี้ยวและน้ำอัดลม
-นักเรียนสามารถเลือกชนิดอาหารที่จะรับประทานได้เหมาะสมกับร่างกายตนเอง โดยเลือกอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าต่อร่างกาย ซึ่งการปฏิบัตินี้มีความสม่ำเสมอจนเป็นนิสัย ส่งผลให้น้ำหนักลดลง ร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมกับวัย มีสุขภาพแข็งแรง มีกำลังในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน
2.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก
-ได้รู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกต้อง
-การเลือกใช้อุปกรณ์การดูแลสุขภาพช่องปากให้เหมาะสมกับช่วงวัย
-นักเรียนแปรงฟันอย่างถูกวิธี ช่วยลดวามเสี่ยงต่อฟันผุ โรคเหงือก และปัญหาเกี่ยวกับฟันอื่นๆ เมื่อนักเรียนไม่มีปัญหาฟันผุ สุขภาพช่องปากนักเรียนก็จะดี
3.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขวิทยา
-การดูแลสุขภาพกายตั้งแต่หัวจรดเท้า
-การรักษาความสะอาดของร่างกายในวัยเด็กให้เหมาะสมกับช่วงวัย
-ให้ครู และผู้ปกครองช่วยกันตรวจสอบสุขวิทยานักเรียนเบื้องต้นเป็นประจำ
-การทำความสะอาดร่างกายเป็นประจำ ช่วยลดการเกิดโรคผิวหนังให้กับนักเรียน ทำให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายทำงานอย่างปกติ และมีประสิทธิภาพ ทำให้ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
4.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก
-ได้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก เช่น การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
-ได้รับความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
-ร่วมกับชุมชน กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงและลูกน้ำยุงลาย รอบบริเวณโรงเรียนและบริเวณบ้านอย่างต่อเนื่องทุกๆสัปดาห์ โดยการเปลี่ยนน้ำในโอ่งหรือน้ำในถัง คว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง เช่น ชามเก่า กระป๋อง กะลา เพื่อป้องกันยุงลายวางไข่ นอกจากนี้ยังใส่ทรายอะเบทลงในถังน้ำเพื่อทำงายไข่ยุงอีกด้วย
5.การติดตามและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็ก
-ได้คัดเลือกนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์เข้ารับการควบคุมการบริโภคอาหาร
-ได้จัดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพให้กับนักเรียนที่มีน้ำหนักเกิน
-ขอความร่วมมือกับผู้ปกครองนักเรียนในการควบคุมการบริโภคอาหารในขณะอยู่ที่บ้าน
-นักเรียนสามารถเลือกชนิดอาหารที่จะรับประทานได้เหมาะสมกับร่างกายตนเอง โดยเลือกอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าต่อร่างกาย ซึ่งการปฏิบัตินี้มีความสม่ำเสมอจนเป็นนิสัย ส่งผลให้น้ำหนักลดลง ร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมกับวัย มีสุขภาพแข็งแรง มีกำลังในการทำกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวัน
6.นักเรียนรู้วิธีการกำจัดเหา และมีสุขภาพกายที่เหมาะสม
-นักเรียนสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการกำจัดเหาได้
-นักเรียนสามารถดูแลรักษาสุขภาพผลของตนเองให้สะอาด เพื่อป้องกันการเป็นเหาซ้ำอีก
-โดยใช้ใบน้อยหน่ามาใช้ในการกำจัดเหา และตรวจผมของนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
7.นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ ไปปรับเปรี่ยนพฤติกรรมในการดำเนินชีวิต และสามารถแนะนำผู้อื่นในเรื่องการดูแลสุขภาพได้
-การดูแลสุขภาพ เพื่อให้สุขภาพแข็งแรง สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างปกติ
ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
1.ร้อยละ 95 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีวามรู้ เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้
2.ร้อยละ 100 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทุพโภชนาการโดยแยกกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนเกินเกณฑ์ จำนวน 13 คน ให้รับประทานอาหารตามเมนูอาหารที่เหมาะสมกับภาวะโภชนาการของนักเรียน ให้ความรู้และประเมินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ผลปรากฎว่านักเรียนมีน้ำหนักลดลง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15 มีน้ำหนักเท่าเดิม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 23.08 และน้ำหนักเพิ่มขึ้นจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 30.76
3.ร้อยละ 80 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ปรากฎว่า นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 61.54
4.ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
5.ร้อยละ 70 นักเรียนที่เป็นเหา นักเรียนเป็นเหาลดลงจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00
6.อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือกออกลดลง เนื่องจากช่วยกันกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนกับโรงเรียน
7.ผลของการหาค่า HI และ CI ในหมู่บ้าน และโรงเรียนบ้านตูแตหรำ พบว่า ค่า HI เท่ากับ 6 และค่า CI เท่ากับ 3 ซึ่งมีค่าน้อยกว่าค่ามาตรฐาน จึงทำให้ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อให้ผู้ปกครองและ นักเรียนมีความรู้ และ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก
90.00
95.00
ร้อยละ 95
2
2 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทุพโภชนาการร้อยละ 100
2. นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม
80.00
100.00
ร้อยละ 100
3
3 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันและสุขภาพกายที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง กรณีพบฟันผุได้รับการรักษาต่อทุกราย
2. นักเรียนร้อยละ 70 ที่เป็นเหาสามารถรักษา ลดการแพร่สู่ผู้อื่น และการกลับมาติดเหาซ้ำอีก
80.00
80.00
ร้อยละ 80
4
4 เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 1. อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง และไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
2. ค่า HI ไม่เกิน…….และค่า CI ไม่เกิน………….
50.00
0.00
HI=6
CI=3
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
101
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
101
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โรงเรียนบ้านตูแตหรำ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนานักเรียนในด้านสุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ จึงได้เริ่มโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของนักเรียนที่มีปัญหา เช่น นักเรียนน้ำหนักเกินเกณฑ์ เนื่องจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกภาวะทุพโภชนาการ ทำให้นักเรียนฟันผุ ปัญหานักเรียนขาดเรียนบ่อย เนื่องจากป่วยเป็นไข้เลือดออก และปัญหานักเรียนเป็นเหา ซึ่งปัญหาต่างๆ จะส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนทั้งสิ้น
ผลการดำเนินโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) เพื่อแก้ปัญหาต่างๆนี้ ผลปรากฎว่า
1. ร้อยละ 95 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีวามรู้ เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้
ร้อยละ 100 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทุพโภชนาการโดยแยกกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนเกินเกณฑ์ จำนวน 13 คน ให้รับประทานอาหารตามเมนูอาหารที่เหมาะสมกับภาวะโภชนาการของนักเรียน ให้ความรู้และประเมินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ผลปรากฎว่านักเรียนมีน้ำหนักลดลง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15 มีน้ำหนักเท่าเดิม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 23.08 และน้ำหนักเพิ่มขึ้นจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 30.76
ร้อยละ 80 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ปรากฎว่า นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 61.54
ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
ร้อยละ 70 นักเรียนที่เป็นเหา นักเรียนเป็นเหาลดลงจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00
อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือกออกลดลง เนื่องจากช่วยกันกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนกับโรงเรียน
ผลของการหาค่า HI และ CI ในหมู่บ้าน และโรงเรียนบ้านตูแตหรำ พบว่า ค่า HI เท่ากับ 6 และค่า CI เท่ากับ 3 ซึ่งมีค่าน้อยกว่าค่ามาตรฐาน จึงทำให้ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก
จากการดำเนินโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) ได้รับผลการพัฒนาที่ดีในการดูแลสุขภาพของนักเรียนจึงส่งผลให้การเรียนรู้ของนักเรียนดีขึ้นด้วย
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
(1) ระยะเวลาในการดำเนินโครงการน้อยเกินไป
(2) สภาพอากาศไม่เอื้ออำนวยต่อการดำเนินกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม
(3) บางกิจกรรมยังไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองเท่าที่ควร เนื่องจากผู้ปกครองต้องทำงานทุกวัน
(1) ควรอนุมัติงบให้เร็วกว่านี้
(2) อยากให้หน่วยงานผู้สนับสนุนโครงการ (อบต.กำแพง) เข้ามาร่วมดำเนินกิจกรรมควบคู่กับทางโรงเรียน
(3) ไม่สมควรทีจะรวมการอบรมให้ความรู้ทุกกิจกรรมในวันเดียวกัน เนื่องจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่สามารถมีสมาธิอยู่กับกิจกรรมเป็นเวลานาน
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care)
รหัสโครงการ 2561 - L8010 - 2 - 05 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2561 - L8010 - 2 - 05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงเรียนบ้านตูแตหรำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) ”
ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านตูแตหรำ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2561 - L8010 - 2 - 05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care)
บทคัดย่อ
โรงเรียนบ้านตูแตหรำ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนานักเรียนในด้านสุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ จึงได้เริ่มโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของนักเรียนที่มีปัญหา เช่น นักเรียนน้ำหนักเกินเกณฑ์ เนื่องจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกภาวะทุพโภชนาการ ทำให้นักเรียนฟันผุ ปัญหานักเรียนขาดเรียนบ่อย เนื่องจากป่วยเป็นไข้เลือดออก และปัญหานักเรียนเป็นเหา ซึ่งปัญหาต่างๆ จะส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนทั้งสิ้น
ผลการดำเนินโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) เพื่อแก้ปัญหาต่างๆนี้ ผลปรากฎว่า 1. ร้อยละ 95 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีวามรู้ เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้
ร้อยละ 100 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทุพโภชนาการโดยแยกกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนเกินเกณฑ์ จำนวน 13 คน ให้รับประทานอาหารตามเมนูอาหารที่เหมาะสมกับภาวะโภชนาการของนักเรียน ให้ความรู้และประเมินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ผลปรากฎว่านักเรียนมีน้ำหนักลดลง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15 มีน้ำหนักเท่าเดิม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 23.08 และน้ำหนักเพิ่มขึ้นจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 30.76
ร้อยละ 80 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ปรากฎว่า นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 61.54
ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
ร้อยละ 70 นักเรียนที่เป็นเหา นักเรียนเป็นเหาลดลงจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00
อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือกออกลดลง เนื่องจากช่วยกันกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนกับโรงเรียน
ผลของการหาค่า HI และ CI ในหมู่บ้าน และโรงเรียนบ้านตูแตหรำ พบว่า ค่า HI เท่ากับ 6 และค่า CI เท่ากับ 3 ซึ่งมีค่าน้อยกว่าค่ามาตรฐาน จึงทำให้ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก
จากการดำเนินโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) ได้รับผลการพัฒนาที่ดีในการดูแลสุขภาพของนักเรียนจึงส่งผลให้การเรียนรู้ของนักเรียนดีขึ้นด้วย
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กวัยเรียนและเยาวชนเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญต่อการสร้างรากฐานความมั่นคงต่อการพัฒนาประเทศทั้งในปัจจุบันและอนาคต การที่เด็กจะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพได้นั้นจะต้องได้รับการเลี้ยงดูและส่งเสริมสุขภาพให้เหมาะสมกับวัย เมื่อสุขภาพดีจะส่งผลต่อการเรียนทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพของเด็กทั้งด้านองค์ความรู้จากการเรียนการสอนรวมถึงการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพที่ดีให้กับเด็กโรงเรียนเป็นสถานที่หนึ่ง เป็นที่รวมของเด็กนักเรียน ซึ่งมาจากที่ต่างๆกัน มีฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดล้อมและพฤติกรรมอนามัยที่แตกต่างกันไป โรคที่พบในเด็กนักเรียนและอุบัติเหตุต่างๆ อาจเกิดขึ้นได้เสมอ หากนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนทราบแนวทางปฏิบัติต่างๆ ในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นแล้ว ก็สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันให้ปลอดภัยได้ โรงเรียนบ้านตูแตหรำหมู่ที่ 12ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล มีสภาพทั่วไปเป็นชุมชนแออัดประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ รับจ้าง ทำการประมงจากนายทุน หาเช้ากินค่ำ มีรายได้น้อย ครอบครัวแตกแยก นักเรียนอาศัยอยู่กับ ปู่ ย่า ตา ยาย นักเรียนส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพที่ส่งผลต่อการเรียนของเด็กได้แก่ ปัญหานักเรียนอยู่ในภาวะทุพโภชนาการ คิดเป็นร้อยละ 40นักเรียนฟันผุร้อยละ60นักเรียนเป็นเหาร้อยละ 40และเป็นไข้เลือดออกร้อยละ 10ปัญหาดังกล่าวสาเหตุมาจากพฤติกรรมต่างๆ เช่น ปัญหาฟันผุกว่าครึ่ง สาเหตุส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากเด็กในวัยนี้ชอบกินขนมขบเคี้ยวและดื่มน้ำอัดลม เป็นสาเหตุของปัญหาฟันผุ เพราะมีส่วนผสมของแป้งและน้ำตาลสูง นักเรียนยังขาดความรู้มีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพของตนเอง ในการเลือกรับประทานอาหาร การแปรงฟัน การรักษาความสะอาดของศีรษะและเส้นผม การกำจัดและป้องกันตัวเองจากยุง โรงเรียนบ้านตูแตหรำ เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียน ส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ติดตามทุพโภชนาการเด็ก และเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก รวมทั้งป้องกันตนเองจากโรคภัยต่างๆ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อให้ผู้ปกครองและ นักเรียนมีความรู้ และ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก
- 2 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กนักเรียน
- 3 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันและสุขภาพกายที่เหมาะสม
- 4 เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 2 เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการเด็ก
- กิจกรรมที่ 3 ฟันดี มีสุข (กิจกรรมต่อเนื่อง)
- กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ให้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง
- กิจกรรมที่ 4 สลัด สะบัดเหา
- กิจกรรมที่ 5 ไข้เลือดออก
- กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 101 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก สุขภาพในช่องปาก สุขภาพกายและป้องกันโรคไข้เลือดออก
- มีการติดตามและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กทุกราย
- นักเรียนมีสุขภาพช่องปากและฟันที่แข็งแรง
- นักเรียนรู้วิธีการกำจัดเหา และมีสุขภาพกายที่เหมาะสม
- อัตราป่วยของนักเรียนจากโรคไข้เลือดออกลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่ 3 ฟันดี มีสุข (กิจกรรมต่อเนื่อง) |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.จัดซื้อและอุปกรณ์การแปรงฟันเพื่อสาธิตและรณรงค์แปรงฟันหลังรับประทานอาหาร คนละ 1 ชุด
4.แกนนำนักเรียนตรวจสอบความสะอาดหลังแปรงฟัน พร้อมบันทึกผล 5.กรณีมีเด็กฟันผุให้แกนนำนักเรียนรายงานครูประจำชั้นเพื่อส่งไปรับการรักษาที่ถูกต้องต่อไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก 1.ได้รู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกต้อง 2.การเลือกใช้อุปกรณ์การดูแลสุขภาพช่องปากให้เหมาะสมกับช่วงวัย 3.นักเรียนแปรงฟันอย่างถูกวิธี ช่วยลดวามเสี่ยงต่อฟันผุ โรคเหงือก และปัญหาเกี่ยวกับฟันอื่นๆ เมื่อนักเรียนไม่มีปัญหาฟันผุ สุขภาพช่องปากนักเรียนก็จะดี ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
|
101 | 0 |
2. กิจกรรมที่ 2 เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการเด็ก |
||
วันที่ 21 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กนักเรียนระดับอนุบาล ถึง ประถมศึกษาปีที 6 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการดำเนินงาน 1.ได้คัดเลือกนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์เข้ารับการควบคุมการบริโภคอาหาร 2.ได้จัดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพให้กับนักเรียนที่มีน้ำหนักเกิน 3.ขอความร่วมมือกับผู้ปกครองนักเรียนในการควบคุมการบริโภคอาหารในขณะอยู่ที่บ้าน 4.นักเรียนสามารถเลือกชนิดอาหารที่จะรับประทานได้เหมาะสมกับร่างกายตนเอง โดยเลือกอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าต่อร่างกาย ซึ่งการปฏิบัตินี้มีความสม่ำเสมอจนเป็นนิสัย ส่งผลให้น้ำหนักลดลง ร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมกับวัย มีสุขภาพแข็งแรง มีกำลังในการทำกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวัน
|
101 | 0 |
3. กิจกรรมที่ 4 สลัด สะบัดเหา |
||
วันที่ 12 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการดำเนินงาน นักเรียนรู้วิธีการกำจัดเหา และมีสุขภาพกายที่เหมาะสม -นักเรียนสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการกำจัดเหาได้ -นักเรียนสามารถดูแลรักษาสุขภาพผลของตนเองให้สะอาด เพื่อป้องกันการเป็นเหาซ้ำอีก -โดยใช้ใบน้อยหน่ามาใช้ในการกำจัดเหา และตรวจผมของนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ ผลสัมฤทธื์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด ร้อยละ 70 นักเรียนที่เป็นเหา นักเรียนเป็นเหาลดลง จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00
|
184 | 0 |
4. กิจกรรมที่ 5 ไข้เลือดออก |
||
วันที่ 26 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.จัดจ้างทำป้ายไวนิล ในการรณรงค์ไข้เลือดออกเดือนละ 1 ครั้งจำนวน 5 ครั้ง 2.รณรงค์พร้อมกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน โดยนักเรียนและผู้ปกครอง เดือนละ 1 ครั้ง 3.จัดกิจกรรมทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน และห้องน้ำสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 4.สำรวจลูกน้ำยุงลายเพื่อหาค่า HI / CI เพื่อหาแนวโน้มความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
6.กรณีพบนักเรียนป่วยที่มีอาการเข้าได้กับโรคไข้เลือดออกโรงเรียนดำเนินการแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขโดยเร็วเพื่อดำเนินการป้องกัน และสอบสวนโรคต่อไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก -ได้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก เช่น การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย -ได้รับความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก -ร่วมกับชุมชน กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงและลูกน้ำยุงลาย รอบบริเวณโรงเรียนและบริเวณบ้านอย่างต่อเนื่องทุกๆสัปดาห์ โดยการเปลี่ยนน้ำในโอ่งหรือน้ำในถัง คว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง เช่น ชามเก่า กระป๋อง กะลา เพื่อป้องกันยุงลายวางไข่ นอกจากนี้ยังใส่ทรายอะเบทลงในถังน้ำเพื่อทำงายไข่ยุงอีกด้วย ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 1.อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง เนื่องจากช่วยกันกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนกับโรงเรียน 2.ผลของการหาค่า HI และ CI ในหมู่บ้าน และโรงเรียนบ้านตูแตหรำ พบว่า ค่า HI เท่ากับ 6 และค่า CI เท่ากับ 3 ซึ่งมีค่าน้อยกว่าค่ามาตรฐาน จึงทำให้ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก
|
184 | 0 |
5. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ให้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง |
||
วันที่ 10 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการดำเนินงาน 1.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
-ลดการรับประทานขนมขบเคี้ยวและน้ำอัดลม -นักเรียนสามารถเลือกชนิดอาหารที่จะรับประทานได้เหมาะสมกับร่างกายตนเอง โดยเลือกอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าต่อร่างกาย ซึ่งการปฏิบัตินี้มีความสม่ำเสมอจนเป็นนิสัย ส่งผลให้น้ำหนักลดลง ร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมกับวัย มีสุขภาพแข็งแรง มีกำลังในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน 2.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก -ได้รู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกต้อง -การเลือกใช้อุปกรณ์การดูแลสุขภาพช่องปากให้เหมาะสมกับช่วงวัย -นักเรียนแปรงฟันอย่างถูกวิธี ช่วยลดวามเสี่ยงต่อฟันผุ โรคเหงือก และปัญหาเกี่ยวกับฟันอื่นๆ เมื่อนักเรียนไม่มีปัญหาฟันผุ สุขภาพช่องปากนักเรียนก็จะดี 3.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขวิทยา -การดูแลสุขภาพกายตั้งแต่หัวจรดเท้า -การรักษาความสะอาดของร่างกายในวัยเด็กให้เหมาะสมกับช่วงวัย -ให้ครู และผู้ปกครองช่วยกันตรวจสอบสุขวิทยานักเรียนเบื้องต้นเป็นประจำ -การทำความสะอาดร่างกายเป็นประจำ ช่วยลดการเกิดโรคผิวหนังให้กับนักเรียน ทำให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายทำงานอย่างปกติ และมีประสิทธิภาพ ทำให้ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ 4.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก -ได้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก เช่น การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย -ได้รับความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก -ร่วมกับชุมชน กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงและลูกน้ำยุงลาย รอบบริเวณโรงเรียนและบริเวณบ้านอย่างต่อเนื่องทุกๆสัปดาห์ โดยการเปลี่ยนน้ำในโอ่งหรือน้ำในถัง คว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง เช่น ชามเก่า กระป๋อง กะลา เพื่อป้องกันยุงลายวางไข่ นอกจากนี้ยังใส่ทรายอะเบทลงในถังน้ำเพื่อทำงายไข่ยุงอีกด้วย ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 1.ร้อยละ 95 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีวามรู้ เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้ 2.ร้อยละ 100 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทุพโภชนาการโดยแยกกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนเกินเกณฑ์ จำนวน 13 คน ให้รับประทานอาหารตามเมนูอาหารที่เหมาะสมกับภาวะโภชนาการของนักเรียน ให้ความรู้และประเมินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ผลปรากฎว่านักเรียนมีน้ำหนักลดลง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15 มีน้ำหนักเท่าเดิม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 23.08 และน้ำหนักเพิ่มขึ้นจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 30.76 3.ร้อยละ 80 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ปรากฎว่า นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 61.54
|
184 | 0 |
6. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ |
||
วันที่ 30 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการดำเนินงาน1.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
-ลดการรับประทานขนมขบเคี้ยวและน้ำอัดลม -นักเรียนสามารถเลือกชนิดอาหารที่จะรับประทานได้เหมาะสมกับร่างกายตนเอง โดยเลือกอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าต่อร่างกาย ซึ่งการปฏิบัตินี้มีความสม่ำเสมอจนเป็นนิสัย ส่งผลให้น้ำหนักลดลง ร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมกับวัย มีสุขภาพแข็งแรง มีกำลังในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน 2.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก -ได้รู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกต้อง -การเลือกใช้อุปกรณ์การดูแลสุขภาพช่องปากให้เหมาะสมกับช่วงวัย -นักเรียนแปรงฟันอย่างถูกวิธี ช่วยลดวามเสี่ยงต่อฟันผุ โรคเหงือก และปัญหาเกี่ยวกับฟันอื่นๆ เมื่อนักเรียนไม่มีปัญหาฟันผุ สุขภาพช่องปากนักเรียนก็จะดี 3.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขวิทยา -การดูแลสุขภาพกายตั้งแต่หัวจรดเท้า -การรักษาความสะอาดของร่างกายในวัยเด็กให้เหมาะสมกับช่วงวัย -ให้ครู และผู้ปกครองช่วยกันตรวจสอบสุขวิทยานักเรียนเบื้องต้นเป็นประจำ -การทำความสะอาดร่างกายเป็นประจำ ช่วยลดการเกิดโรคผิวหนังให้กับนักเรียน ทำให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายทำงานอย่างปกติ และมีประสิทธิภาพ ทำให้ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ 4.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก -ได้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก เช่น การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย -ได้รับความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก -ร่วมกับชุมชน กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงและลูกน้ำยุงลาย รอบบริเวณโรงเรียนและบริเวณบ้านอย่างต่อเนื่องทุกๆสัปดาห์ โดยการเปลี่ยนน้ำในโอ่งหรือน้ำในถัง คว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง เช่น ชามเก่า กระป๋อง กะลา เพื่อป้องกันยุงลายวางไข่ นอกจากนี้ยังใส่ทรายอะเบทลงในถังน้ำเพื่อทำงายไข่ยุงอีกด้วย 5.การติดตามและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็ก -ได้คัดเลือกนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์เข้ารับการควบคุมการบริโภคอาหาร -ได้จัดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพให้กับนักเรียนที่มีน้ำหนักเกิน -ขอความร่วมมือกับผู้ปกครองนักเรียนในการควบคุมการบริโภคอาหารในขณะอยู่ที่บ้าน -นักเรียนสามารถเลือกชนิดอาหารที่จะรับประทานได้เหมาะสมกับร่างกายตนเอง โดยเลือกอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าต่อร่างกาย ซึ่งการปฏิบัตินี้มีความสม่ำเสมอจนเป็นนิสัย ส่งผลให้น้ำหนักลดลง ร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมกับวัย มีสุขภาพแข็งแรง มีกำลังในการทำกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวัน 6.นักเรียนรู้วิธีการกำจัดเหา และมีสุขภาพกายที่เหมาะสม -นักเรียนสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการกำจัดเหาได้ -นักเรียนสามารถดูแลรักษาสุขภาพผลของตนเองให้สะอาด เพื่อป้องกันการเป็นเหาซ้ำอีก -โดยใช้ใบน้อยหน่ามาใช้ในการกำจัดเหา และตรวจผมของนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ 7.นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ ไปปรับเปรี่ยนพฤติกรรมในการดำเนินชีวิต และสามารถแนะนำผู้อื่นในเรื่องการดูแลสุขภาพได้ -การดูแลสุขภาพ เพื่อให้สุขภาพแข็งแรง สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างปกติ ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 1.ร้อยละ 95 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีวามรู้ เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้ 2.ร้อยละ 100 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทุพโภชนาการโดยแยกกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนเกินเกณฑ์ จำนวน 13 คน ให้รับประทานอาหารตามเมนูอาหารที่เหมาะสมกับภาวะโภชนาการของนักเรียน ให้ความรู้และประเมินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ผลปรากฎว่านักเรียนมีน้ำหนักลดลง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15 มีน้ำหนักเท่าเดิม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 23.08 และน้ำหนักเพิ่มขึ้นจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 30.76 3.ร้อยละ 80 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ปรากฎว่า นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 61.54 4.ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง 5.ร้อยละ 70 นักเรียนที่เป็นเหา นักเรียนเป็นเหาลดลงจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00 6.อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือกออกลดลง เนื่องจากช่วยกันกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนกับโรงเรียน 7.ผลของการหาค่า HI และ CI ในหมู่บ้าน และโรงเรียนบ้านตูแตหรำ พบว่า ค่า HI เท่ากับ 6 และค่า CI เท่ากับ 3 ซึ่งมีค่าน้อยกว่าค่ามาตรฐาน จึงทำให้ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินงาน
1.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
-การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสมกับวัย
-ลดการรับประทานขนมขบเคี้ยวและน้ำอัดลม
-นักเรียนสามารถเลือกชนิดอาหารที่จะรับประทานได้เหมาะสมกับร่างกายตนเอง โดยเลือกอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าต่อร่างกาย ซึ่งการปฏิบัตินี้มีความสม่ำเสมอจนเป็นนิสัย ส่งผลให้น้ำหนักลดลง ร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมกับวัย มีสุขภาพแข็งแรง มีกำลังในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน
2.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก
-ได้รู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกต้อง
-การเลือกใช้อุปกรณ์การดูแลสุขภาพช่องปากให้เหมาะสมกับช่วงวัย
-นักเรียนแปรงฟันอย่างถูกวิธี ช่วยลดวามเสี่ยงต่อฟันผุ โรคเหงือก และปัญหาเกี่ยวกับฟันอื่นๆ เมื่อนักเรียนไม่มีปัญหาฟันผุ สุขภาพช่องปากนักเรียนก็จะดี
3.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขวิทยา
-การดูแลสุขภาพกายตั้งแต่หัวจรดเท้า
-การรักษาความสะอาดของร่างกายในวัยเด็กให้เหมาะสมกับช่วงวัย
-ให้ครู และผู้ปกครองช่วยกันตรวจสอบสุขวิทยานักเรียนเบื้องต้นเป็นประจำ
-การทำความสะอาดร่างกายเป็นประจำ ช่วยลดการเกิดโรคผิวหนังให้กับนักเรียน ทำให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายทำงานอย่างปกติ และมีประสิทธิภาพ ทำให้ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
4.นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก
-ได้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก เช่น การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
-ได้รับความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
-ร่วมกับชุมชน กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงและลูกน้ำยุงลาย รอบบริเวณโรงเรียนและบริเวณบ้านอย่างต่อเนื่องทุกๆสัปดาห์ โดยการเปลี่ยนน้ำในโอ่งหรือน้ำในถัง คว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง เช่น ชามเก่า กระป๋อง กะลา เพื่อป้องกันยุงลายวางไข่ นอกจากนี้ยังใส่ทรายอะเบทลงในถังน้ำเพื่อทำงายไข่ยุงอีกด้วย
5.การติดตามและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็ก
-ได้คัดเลือกนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์เข้ารับการควบคุมการบริโภคอาหาร
-ได้จัดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพให้กับนักเรียนที่มีน้ำหนักเกิน
-ขอความร่วมมือกับผู้ปกครองนักเรียนในการควบคุมการบริโภคอาหารในขณะอยู่ที่บ้าน
-นักเรียนสามารถเลือกชนิดอาหารที่จะรับประทานได้เหมาะสมกับร่างกายตนเอง โดยเลือกอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าต่อร่างกาย ซึ่งการปฏิบัตินี้มีความสม่ำเสมอจนเป็นนิสัย ส่งผลให้น้ำหนักลดลง ร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมกับวัย มีสุขภาพแข็งแรง มีกำลังในการทำกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวัน
6.นักเรียนรู้วิธีการกำจัดเหา และมีสุขภาพกายที่เหมาะสม
-นักเรียนสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการกำจัดเหาได้
-นักเรียนสามารถดูแลรักษาสุขภาพผลของตนเองให้สะอาด เพื่อป้องกันการเป็นเหาซ้ำอีก
-โดยใช้ใบน้อยหน่ามาใช้ในการกำจัดเหา และตรวจผมของนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
7.นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ ไปปรับเปรี่ยนพฤติกรรมในการดำเนินชีวิต และสามารถแนะนำผู้อื่นในเรื่องการดูแลสุขภาพได้
-การดูแลสุขภาพ เพื่อให้สุขภาพแข็งแรง สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างปกติ
ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
1.ร้อยละ 95 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีวามรู้ เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้
2.ร้อยละ 100 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทุพโภชนาการโดยแยกกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนเกินเกณฑ์ จำนวน 13 คน ให้รับประทานอาหารตามเมนูอาหารที่เหมาะสมกับภาวะโภชนาการของนักเรียน ให้ความรู้และประเมินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ผลปรากฎว่านักเรียนมีน้ำหนักลดลง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15 มีน้ำหนักเท่าเดิม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 23.08 และน้ำหนักเพิ่มขึ้นจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 30.76
3.ร้อยละ 80 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ปรากฎว่า นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 61.54
4.ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
5.ร้อยละ 70 นักเรียนที่เป็นเหา นักเรียนเป็นเหาลดลงจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00
6.อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือกออกลดลง เนื่องจากช่วยกันกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนกับโรงเรียน
7.ผลของการหาค่า HI และ CI ในหมู่บ้าน และโรงเรียนบ้านตูแตหรำ พบว่า ค่า HI เท่ากับ 6 และค่า CI เท่ากับ 3 ซึ่งมีค่าน้อยกว่าค่ามาตรฐาน จึงทำให้ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อให้ผู้ปกครองและ นักเรียนมีความรู้ และ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก |
90.00 | 95.00 | ร้อยละ 95 |
|
2 | 2 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กนักเรียน ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทุพโภชนาการร้อยละ 100 2. นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม |
80.00 | 100.00 | ร้อยละ 100 |
|
3 | 3 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันและสุขภาพกายที่เหมาะสม ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง กรณีพบฟันผุได้รับการรักษาต่อทุกราย 2. นักเรียนร้อยละ 70 ที่เป็นเหาสามารถรักษา ลดการแพร่สู่ผู้อื่น และการกลับมาติดเหาซ้ำอีก |
80.00 | 80.00 | ร้อยละ 80 |
|
4 | 4 เพื่อลดอัตราการป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : 1. อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง และไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร 2. ค่า HI ไม่เกิน…….และค่า CI ไม่เกิน…………. |
50.00 | 0.00 | HI=6 CI=3 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 101 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 101 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โรงเรียนบ้านตูแตหรำ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนานักเรียนในด้านสุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ จึงได้เริ่มโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของนักเรียนที่มีปัญหา เช่น นักเรียนน้ำหนักเกินเกณฑ์ เนื่องจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกภาวะทุพโภชนาการ ทำให้นักเรียนฟันผุ ปัญหานักเรียนขาดเรียนบ่อย เนื่องจากป่วยเป็นไข้เลือดออก และปัญหานักเรียนเป็นเหา ซึ่งปัญหาต่างๆ จะส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนทั้งสิ้น
ผลการดำเนินโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) เพื่อแก้ปัญหาต่างๆนี้ ผลปรากฎว่า 1. ร้อยละ 95 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีวามรู้ เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้
ร้อยละ 100 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทุพโภชนาการโดยแยกกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนเกินเกณฑ์ จำนวน 13 คน ให้รับประทานอาหารตามเมนูอาหารที่เหมาะสมกับภาวะโภชนาการของนักเรียน ให้ความรู้และประเมินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ผลปรากฎว่านักเรียนมีน้ำหนักลดลง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15 มีน้ำหนักเท่าเดิม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 23.08 และน้ำหนักเพิ่มขึ้นจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 30.76
ร้อยละ 80 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ปรากฎว่า นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 61.54
ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
ร้อยละ 70 นักเรียนที่เป็นเหา นักเรียนเป็นเหาลดลงจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00
อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือกออกลดลง เนื่องจากช่วยกันกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนกับโรงเรียน
ผลของการหาค่า HI และ CI ในหมู่บ้าน และโรงเรียนบ้านตูแตหรำ พบว่า ค่า HI เท่ากับ 6 และค่า CI เท่ากับ 3 ซึ่งมีค่าน้อยกว่าค่ามาตรฐาน จึงทำให้ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก
จากการดำเนินโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) ได้รับผลการพัฒนาที่ดีในการดูแลสุขภาพของนักเรียนจึงส่งผลให้การเรียนรู้ของนักเรียนดีขึ้นด้วย
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
(1) ระยะเวลาในการดำเนินโครงการน้อยเกินไป (2) สภาพอากาศไม่เอื้ออำนวยต่อการดำเนินกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม (3) บางกิจกรรมยังไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองเท่าที่ควร เนื่องจากผู้ปกครองต้องทำงานทุกวัน |
|
(1) ควรอนุมัติงบให้เร็วกว่านี้ (2) อยากให้หน่วยงานผู้สนับสนุนโครงการ (อบต.กำแพง) เข้ามาร่วมดำเนินกิจกรรมควบคู่กับทางโรงเรียน (3) ไม่สมควรทีจะรวมการอบรมให้ความรู้ทุกกิจกรรมในวันเดียวกัน เนื่องจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่สามารถมีสมาธิอยู่กับกิจกรรมเป็นเวลานาน |
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care)
รหัสโครงการ 2561 - L8010 - 2 - 05 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care)
รหัสโครงการ 2561 - L8010 - 2 - 05 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
ด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2561 - L8010 - 2 - 05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงเรียนบ้านตูแตหรำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......