กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ อบรมประชาชนยุคใหม่เข้าใจเรื่องเอชไอวี/เอดส์ ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายเจษฎาพรทองงาม

ชื่อโครงการ อบรมประชาชนยุคใหม่เข้าใจเรื่องเอชไอวี/เอดส์

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2561-L6896-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"อบรมประชาชนยุคใหม่เข้าใจเรื่องเอชไอวี/เอดส์ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมประชาชนยุคใหม่เข้าใจเรื่องเอชไอวี/เอดส์



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมประชาชนยุคใหม่เข้าใจเรื่องเอชไอวี/เอดส์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2561-L6896-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข รายงานสถานการณ์ ปี 2560 มีผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่ยังมีชีวิตอยู่ประมาณ 440,000 คน และมีผู้ติดเชื้อรายใหม่กว่า 5,000 คน หรือเฉลี่ยวันละ 16 คน ถือเป็นตัวเลขที่ยังสูงไม่น้อย โดยผู้ได้รับการวินิจฉัยและรู้สถานการณ์ติดเชื้อตนเองประมาณ 430,000คน คิดเป็นร้อยละ 98 ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีทั้งหมด และมีผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่กำลังรับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสกว่า 300,000 คน คิดเป็นร้อยละ 70 ของผู้ติดเชื้อที่ได้รับการวินิจฉัย ขณะที่สถานการณ์โรคเอดส์ทั่วโลก พบว่า ในปี 2559 มีผู้ติดเชื้อทั่วโลกสะสม 36,700,000 คนพบเป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ 1 ,800,000 คน และมีผู้เสียชีวิตจากเอดส์ 1,000,000 คน โดยมีผู้ติดเชื้อที่ได้รับยาต้านไวรัสเพิ่มขึ้นจากปี 2553 และจังหวัดตรังรายงานผู้ป่วยรายแรก เมื่อปีพ.ศ.2533จนถึงวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2561 มีรายงานผู้ป่วยเอดส์สะสม จำนวน4,758รายเสียชีวิตแล้วจำนวน1,677ราย (ร้อยละ 35.25) ยังคงมีชีวิตอยู่3,081ราย (ร้อยละ 64.75) และเมื่อปี2556- 2560อำเภอที่มีรายงานผู้ป่วยสูงสุดคือ อำเภอเมือง 59 ราย(ร้อยละ 27.8)รองลงมาคืออำเภอห้วยยอด43 ราย (ร้อยละ 20.3) และอำเภอกันตัง 31 ราย (ร้อยละ 14.6) ผู้ป่วยเอดส์ของจังหวัดตรังจำนวน 4,758รายแยกเป็นเพศชายจำนวน3,284 ราย (ร้อยละ 69.12) เพศหญิง จำนวน1,467ราย (ร้อยละ 30.88)อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิงเท่ากับ2.24 : 1 ผู้ป่วยเอดส์ของจังหวัดตรัง จำนวน4,758รายมีปัจจัยเสี่ยง จากเพศสัมพันธ์ 3,753 ราย (ร้อยละ78.9) ปัจจัยเสี่ยง จากการใช้ยาเสพติดชนิดฉีด329ราย(ร้อยละ 6.7)ติดเชื้อจากมารดา169ราย(ร้อยละ3.6) และอื่นๆ6 ราย(ร้อยละ0.1)และไม่ทราบปัจจัยเสี่ยง501ราย(ร้อยละ10.5)
ดังนั้นกลุ่มพะยูนศรีตรังจังหวัดตรังได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว กลุ่มพะยูนศรีตรังจังหวัดตรังเห็นว่ามีคนในชุมชนและเขตเทศบาลนครตรังอีกมากที่ยังไม่ทราบและตระหนักเกี่ยวกับเรื่องเอชไอวี /เอดส์ ยังเห็นเป็นเรื่องไกลตัว โดยเฉพาะกลุ่มประชาชนทั่วไปที่คิดว่าตัวเองไม่เสี่ยงและไม่ทราบสถานะผลเลือดของตนเองก็ไม่สามารถที่จะป้องกันและดูแลตนเองได้ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มทักษะการสื่อสารแก่แกนนำสามารถดูแลสุขภาพตนเองและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นได้
  2. เพื่อให้กลุ่มประชาชนทั่วไปได้รับองค์ความรู้เรื่องเอชไอวี/เอดส์ เพื่อป้องกันตนเองในการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมแกนนำเพื่อสำรวจกลุ่มเป้าหมาย
  2. อบรมประชาชนยุคใหม่เข้าใจเรื่องเอชไอวี/เอดส์ 2 รุ่น ๆ ละ 50 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

• แกนนำได้รับทักษะการสื่อสาร และสามารถนำไปถ่ายทอดได้ • ประชาชนทั่วไปได้ความรู้ความเข้าใจเรื่องการป้องกัน • ประชาชนทั่วไปสามารถป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมแกนนำเพื่อสำรวจกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 29 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ทำแบบประเมินความรู้ก่อนและหลัง วิเคราะห์พื้นที่สำรวจกลุ่มเป้าหมายพร้อมแบ่งพื้นที่รับผิดชอบ อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-มีเครือข่ายแกนนำเกิดขึ้นในชุมชน จำนวน 20 คน
-แกนนำมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเอดส์กับเอชไอวี/ผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์/อาชีพเสี่ยงและใครบ้านที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี/ปัจจัยเสี่ยงการติดเชื้อเอชไอวี -แกนนำยังเข้าใจถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อเอชไอวี

 

20 0

2. อบรมประชาชนยุคใหม่เข้าใจเรื่องเอชไอวี/เอดส์ 2 รุ่น ๆ ละ 50 คน

วันที่ 5 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมประชาชนฯ จำนวน 2 รุ่น  ๆ ละ 50 คน รุ่นที่ 1 วันที่ 5 พฤษภาคม 2561
รุ่นที่ 2 วันที่ 19 พฤษภาคม 2561

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเอดส์กับเอชไอวี ผู้เข้าร่วมยังเข้าใจถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อเอชไอวี

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มทักษะการสื่อสารแก่แกนนำสามารถดูแลสุขภาพตนเองและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นได้
ตัวชี้วัด : แบบสอบถามก่อน-หลังและแบบประเมินความพึงพอใจ 60%
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มประชาชนทั่วไปได้รับองค์ความรู้เรื่องเอชไอวี/เอดส์ เพื่อป้องกันตนเองในการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้
ตัวชี้วัด : แบบสอบถามก่อน-หลังและแบบประเมินความพึงพอใจ 60%
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มทักษะการสื่อสารแก่แกนนำสามารถดูแลสุขภาพตนเองและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นได้ (2) เพื่อให้กลุ่มประชาชนทั่วไปได้รับองค์ความรู้เรื่องเอชไอวี/เอดส์ เพื่อป้องกันตนเองในการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมแกนนำเพื่อสำรวจกลุ่มเป้าหมาย (2) อบรมประชาชนยุคใหม่เข้าใจเรื่องเอชไอวี/เอดส์ 2 รุ่น ๆ ละ 50 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อบรมประชาชนยุคใหม่เข้าใจเรื่องเอชไอวี/เอดส์ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2561-L6896-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเจษฎาพรทองงาม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด