กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด


“ Anemia mobile เพื่อแก้ปัญหาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ”

ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายประเทือง อมรวิริยะชัย

ชื่อโครงการ Anemia mobile เพื่อแก้ปัญหาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์

ที่อยู่ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3308-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2561 ถึง 11 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"Anemia mobile เพื่อแก้ปัญหาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
Anemia mobile เพื่อแก้ปัญหาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์



บทคัดย่อ

โครงการ " Anemia mobile เพื่อแก้ปัญหาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3308-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2561 - 11 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลหิตจางเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งพบได้ทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย จากข้อมูลทางระบาดวิทยาเชิงสถิติ ได้รายงานขนาดปัญหาโลหิตจางในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา โดยการสำรวจที่เป็นตัวแทนของระดับประเทศ พบว่าความชุกของภาวะ  โลหิตจางในหญิงมีครรภ์เท่ากับร้อยละ 25-30 และแนวโน้มมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ข้อมูลเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นพบว่า มีความชุกเฉลี่ยร้อยละ 13-15 ในขณะที่ความชุกของเด็กทารกอาจสูงถึงร้อยละ 30-40 และวัยก่อนเรียนประมาณร้อยละ 15-20 วัยเจริญพันธุ์ ร้อยละ 20-25  หญิงมีครรภ์ร้อยละ 30-34 และหญิงให้นมบุตรร้อยละ 20-25 (พัตธณี วินิจจะกูล และวีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์, 2544) หญิงวัยเจริญพันธุ์เป็นประชากรกลุ่มหนึ่งที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะโลหิตจาง เนื่องจากมีการสูญเสียธาตุเหล็กไปกับประจำเดือน ประมาณ 12.5-15 มิลลิกรัมต่อเดือน หรือเฉลี่ยวันละ 0.4-0.5 มิลลิกรัม ซึ่งปกติร่างกายจะสูญเสียธาตุเหล็กจากการขับถ่ายวันละ 0.5-1.0 มิลลิกรัม และยังมีการสูญเสียธาตุเหล็กออกไปทางปัสสาวะ ผิวหนัง บาดแผล และการบริจาคโลหิต นอกจากนี้พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องทำให้ร่างกายได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอ (ศุภิสรา วรโคตร, ผ่องศรี เถิงนำมา, นันทา ศรีนา และปราณี ธีรโสภณ, 2554) ผลกระทบหากหญิงวัยเจริญพันธุ์ขาดธาตุเหล็กในระยะก่อนตั้งครรภ์ จะส่งผลเมื่อตั้งครรภ์ ต่อการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและสมองของทารกในครรภ์ มีพัฒนาการด้านร่างกายล่าช้า และสติปัญญาต่ำกว่าปกติ รพสต.บ้านชะรัดพยายามแก้ปัญหาโดยใช้นวตกรรม เชิงกระบวนการ พบว่าการดำเนินงาน Anemia mobile ปี2557 - 2559 ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 268,189,312 รายตามลำดับ พบภาวะซีด 90,39,24 ราย คิดเป็นร้อยละ 33,19.7,7.69 ตามลำดับ จากการติดตามหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เข้าร่วมโครงการและมีการตั้งครรภ์ในช่วง ต.ค.58 – มี.ค.59 จำนวน 6 รายไม่พบภาวะซีด ดังนั้นเพื่อป้องกันภาวะซีดตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ และลดภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ รพสต.บ้านชะรัด จึงได้นำนวตกรรม Anemia mobile มาดำเนินการเพื่อให้มีความต่อเนื่องในการแก้ไขปัญหาการขาดธาตุเหล็กในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธุ์โดยเฉพาะในกลุ่มที่ไม่ได้คุมกำเนิดและกลุ่มที่พร้อมจะมีบุตร เพื่อให้สามารถป้องกันภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ก่อนตั้งครรภ์. ข้อที่ 2. สามารถป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เข้าร่วมโครงการ ได้มากกว่าร้อยละ 80

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและภาวะซีดในวัยเจริญพันธุ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 284
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์ภาวะโลหิตหางมีจำนวนลดลง 2.หญิงวัยพันธ์ุมีความรู็เรื่องเรื่องภาวะโลหิตจางที่ถูกต้อง สามารถนำไปปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและภาวะซีดในวัยเจริญพันธุ์

วันที่ 2 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้านล่วงหน้า 2.เจาะความเข้มข้นเลือด 3.แบ่งกลุ่มซีด/กลุ่มปกติ ให้ยาธาตุเหล็ก 4.นัดติตามกลุ่มซีด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.หญิงตั้งครรภ์ภาวะโลหิตจางมีจำนวนลดลง 2.หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้เรื่องภาวะโลหิตจางที่ถูกต้อง สามารถนำไปปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวัน

 

344 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ก่อนตั้งครรภ์. ข้อที่ 2. สามารถป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เข้าร่วมโครงการ ได้มากกว่าร้อยละ 80
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ - หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ในการป้องกันภาวะโลหิตจางร้อยละ 80 - หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้เรื่องภาวะโลหิตจางที่ถูกต้อง สามารถนำไปปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวัน ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 344
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 284
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.  เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ก่อนตั้งครรภ์. ข้อที่ 2. สามารถป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เข้าร่วมโครงการ ได้มากกว่าร้อยละ 80

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและภาวะซีดในวัยเจริญพันธุ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


Anemia mobile เพื่อแก้ปัญหาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3308-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประเทือง อมรวิริยะชัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด