กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด


“ ชุมชนบ้านต้นส้านร่วมใจลดและป้องกันโรคร้ายจากภัยขยะ ”

ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเหลาะ หมาดเขียว

ชื่อโครงการ ชุมชนบ้านต้นส้านร่วมใจลดและป้องกันโรคร้ายจากภัยขยะ

ที่อยู่ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3308-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 เมษายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนบ้านต้นส้านร่วมใจลดและป้องกันโรคร้ายจากภัยขยะ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนบ้านต้นส้านร่วมใจลดและป้องกันโรคร้ายจากภัยขยะ



บทคัดย่อ

โครงการ " ชุมชนบ้านต้นส้านร่วมใจลดและป้องกันโรคร้ายจากภัยขยะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3308-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 เมษายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,060.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากขยะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ที่เป็นพาหะนะโรค เช่น หนู แมลงสาบ ยุง แมลงวัน เป็นต้น นอกจากนี้สัตว์บางจำพวกชอบขุ้ยเขี่ยขยะเพื่อหาอาหารก็เป็นพาหะนำโรคได้เช่นกัน เช่น นก สุนัข แมว ไก่ เป็ดและสัตว์อื่นๆ นอกจากนี้ขยะที่ทิ้งและกำจัดไม่ถูกวิธี ส่งผลกระทบที่รุนแรงต่อรางกายและก่อให้เกิดโรคร้ายกับมนุษย์ ดังนี้ 1.โรคระบบทางเดินอาหาร เกิดจากจุลินทรีย์ต่างๆ เช่นไวรัส รา แบคทีเรียในขยะมูลฝอยที่ตกค้างบนพืื้นจะเป็นแหล่งเพาะพันธ์ของหนู แมลงสาบ ยุง แมลงวัน ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อ เช่น โรคท้องร่วง ไข้เลือดออก โรคพยาธิต่างๆ ตลอดจนสิ่งมีชีวิตที่มองไม่เห็น ได้แก่เชื่อโรคต่างๆ เช่น เชื้อโรคอหิงาตกโรค ไทฟอยด์ และโรคบิด โดยเชื้อโรคเหล่านี้เข้าสู่รางกายคนเรา จากการกินอาหารและน้ำ หรือการจับต้องด้วยมือ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของคนเราได้โดยง่าย 2.โรคจากการติดเชื้อ อันตรายจากขยะติดเชื้อโรค เช่น ถุงยางอนามัย ผ้าอนามัย กระดาษทิษชูที่เป็นว้ณโรคใช้กนเสมหะหรือน้ำลาย สำลีเช็ดแผล พลาสเตอร์ปิดแผลที่ให้แล้ว อาหารเน่าบูด และซากสัตว์ ซึ้งอาจมีเชื้อไข้หวัดนก รวมถึงอันตรายจากอุบัติเหตุที่เกี่ยวข้องกับกองขยะมักเจอกันอยู่บ่อยๆ ได้แก่ ขยะที่เป็นวัตถุมีคม เช่น ไม้แหลม แก้วแตก และโลหะมีคม ซึ่งเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรค เช่นบาดทะยัก หรือจากวัสดุเปื้อนเลือด เช่นเข็มฉีดยาใช้แล้ว ซึ่งเสื่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบและโรคเอดส์ได้ 3.โรคภูมแพ้ เกิดได้จากการสูดดมฝุ่นละอองที่ปลิวฝุ่งกระจายจากเศษขยะชนิดต่างๆ เช่น เศษกระดาษ ฝุ่นฝ้าย ผงหมึกพิมพ์จากเศษกระดาษ ตลอดจนของเสียที่เป็นอันตรายบางชนิดที่ระเหยหรือปล่อยสารต่างๆ ออกมาเป็นฝุ่นผสมอยู่ในอากาศ นอกจากนี้ การเผาขยะอาจทำให้มีสารอันตราย ตลอดจนของเสียที่เป็นอันตรายบางชนิดที่ระเหยหรือปล่อยสารต่างๆออกมาเป็นฝุ่นผสมอยู่ในอากาศ ในรูนของไอหรือฝุ่นของสารเคมีต่างๆได้เช่นกัน 4.ปวดศรีษะ คลื่นไส้ และอาเจียน เกิดจากกลิ่นเน่าเหม็น ขยะมูลฝอยที่กองทิ้งไว้ ไม่มีการฝังกลบหรือจากการเก็บขยะไม่หมด ทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน นอกจากนี้ขยะมูลฝอยที่กองทิ้งไว้นานๆจะมีก๊าซที่เกิดจากการเก็บขยะไม่หมดทำให้ระเบิดขิ้นได้ และกาซไข่เน่า (ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์) ส่งกลิ่นเหม็นรบกวนได้เช่นกัน 5.โรคมะเร็ง เนื่องจากได้รับสารพิษต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ไม่ว่าจากการสูดดมอากาศเสียของกองขยะ ซึ่งเกิดจากการเฝาขยะมูลฝอยกลางแจ้ง ทำให้เกิดควันและสารพิษปนเปื่อนในอากาศ เช่นสารไดออกซินและฟิวแรนระหว่างการเผา ซึ่งสารทั้งสองชนิดนี้เป็นสารก่อให้เกิดมะเร็งและทำลายการทำงานของตับไต นอกจากนี้ยังเป็นอันตรายจากสารเคมีต่างๆ ของขยะพิษบางชนิด เช่น สารหนูในแบตเตอรี่มือถือ ซึ่งเป็นตัวการก่อให้เกิดมะเร็งผิวหนังและมะเร็งปอดได้ หรือสารเบริลเลียม ที่ใช้ในแผงวงจรหลักขอลอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อย่างมือถือซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งโดยเฉพาะมะเร็งปอด โดยผู้ที่ได้รับสารนี้อย่างต่อเนื่องจากการสูดดมจะกลายเป็นโรค Berellicosis ซึ่งมีผลกับปอดและหากสัมผัสสารนี้จะทำให้เกิดแผลที่ผิวหนังอย่างรุนแรง ตำบลชะรัดกำลังเผชิญกับปัญหาโรคร้ายที่เกิดจากการกำจัดขยะไม่ถูกวิธีและกำจัดขยะไม่ทันกับปริมาณที่เพิ่มขึ้นนับวันจะทวีความรุนแรงและยังไม่สามารถหาทางออกที่ดีได้ และของเสียอันตรายจากบ้านเรือนเป็นปัญหาสำคัญ ครัวเรือนเป็นแหล่งกำเนิดของของเสียอันตรายจากชุมชนประมาณ 1 ใน 4 ของทั้งหมด วึ่งจากปัญหาขยะดังกล่าวส่งผลให้ประชาชนในตำบลชะรัดเกิดปัญหาสุขภาพมากขึ้นเช่นกัน ประกอบกับการได้รับสารพิษต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานจะส่งผลกระทบต่อระบบต่างๆ ภายในร่างกาย พื้นที่ชุมชนบ้านพรุโต๊ะเด็ม หมู่ที่5 ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง เป็นพื้นที่ที่มีอุบัติการณ์จากดรคที่เกิดจากขยะมูลฝอยเพราะมีขยะหมักหมมตกค้างจากครัวเรือนในชุมชนหลานวันกว่ารถขยะเทศบาลตำบลชะรัดจะมาเก็บ จากข้อมูลที่ผ่านมามีผู้ป่วยด้วยโรคที่เกิดจากขยะมูลฝอยเกือบทุกโรคดังกล่าวข้างต้นดังนี้คือ ไข้เลือดออก โรคมะเร็ง โรคท้องร่วง โรคภูมิแพ้ โรคตาแดง คลื่นไส้อาเจียน ปวดศรีษะ ฯลฯ ดังนั้นเพื่อลดและป้องกันไม่ให้ประชาชนในพื้นที่เกิดโรคจากขยะมูลฝอย จึงต้องมีการจัดการแหล่งขยะที่ถูกสุขลักษณะเพื่อลดโรคและการป้องกันโรคที่เกิดจากขยะมูลฝอย โดยสร้างความเข้าใจ ความตระหนักของประชาชนถึงโรคภัยที่มาจากขยะมูลฝอย ภายใต้ความร่วมมือของประชาชนในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การลดโรคและป้องกันโรคภัยที่จะเกิดจากขยะได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อลดและป้องกันโรคที่เกิดจากมูลฝอยในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมโครงการรณรงค์ส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชนสู่สุขภาวะที่ดี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราป่วยด้วยโรคขยะมูลฝอย 2.ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมโครงการรณรงค์ส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชนสู่สุขภาวะที่ดี

วันที่ 11 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ขั้นตอนวางแผนงาน 1.1 เข้ารวมประชุมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัดเพื่อเวนอปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของประชาชน เพื่อบรรจุเข้าแผนกองทุน 1.2 ประชุมประชาชนเพื่อคัดเลือกโครงการของบประมาณเพื่อแก้ปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของคนในชุมชน 1.3 เขียนโครงดารและรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องเสนอของบประมาณกองทุน 2. ขั้นตอนการดำเดินงาน 2.1 คณะกรรมการชุมชนวางแผนการกำหนดกลุ่มเป้าหมาย รูปแบบวิธีการดำเนินโครงการ ประชาสัมพันธ์โครงการ และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.2 กำหนดแนวทางทำงานร่วมกัน มอบหมายงานรับผิดชอบ คณะกรรมการ ตัวแทนครัวเรือนหรือผู้นำที่สนใจ 2.3 จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายในการลดและป้องกันโรคที่เกิดจากภัยมูลฝอย 2.4 จัดประชุมชี้แจงการติดตามและประเมินผลโครงการกลุ่มเป้าหมาย 2.5 ลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลบ้านกลุ่มเป้าหมายในการลดและป้องกันโรคที่เกิดจาดขยะ 2.6 สรุปและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อัตราป่วยด้วยโรคขยะมูลฝอยลดลง 2.ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีเพิ่มขึ้น

 

41 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อลดและป้องกันโรคที่เกิดจากมูลฝอยในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วยด้วยโรคขยะมูลฝอยลดลง 2.ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีเพิ่มขึ้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดและป้องกันโรคที่เกิดจากมูลฝอยในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมโครงการรณรงค์ส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชนสู่สุขภาวะที่ดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ชุมชนบ้านต้นส้านร่วมใจลดและป้องกันโรคร้ายจากภัยขยะ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3308-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเหลาะ หมาดเขียว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด