กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด


“ การอบรมการผลิตยาพอกบำบัดอาการปวดเข่า ”

ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางระบาย แก้วน้อย

ชื่อโครงการ การอบรมการผลิตยาพอกบำบัดอาการปวดเข่า

ที่อยู่ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3308-2-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"การอบรมการผลิตยาพอกบำบัดอาการปวดเข่า จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การอบรมการผลิตยาพอกบำบัดอาการปวดเข่า



บทคัดย่อ

โครงการ " การอบรมการผลิตยาพอกบำบัดอาการปวดเข่า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3308-2-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลก (WHO, 2003) คาดการณ์ว่าจะมีผู้ป่วยกระดูกและข้อเพิ่มขึ้นจาก 400 ล้านคนใน พ.ศ. 2551 เป็น 570 ล้านคนใน พ.ศ. 2563 โดยเฉพาะโรคข้อเสื่อม (Osteoarthritis) ที่เป็นสาเหตุอันดับสี่ของโรคนับตามจำนวนปีที่มีชีวิตอยู่กับความพิการ (Years lived with disability: YLDs) และได้คาดการณ์ว่าใน ค.ศ. 2000 ทั่วโลกจะมีผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม 1,700 และ 2,693 คนต่อประชากร 100,000 คน(Haq&Davatchi, 2011)คณะผู้เชี่ยวชาญโรคข้อขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization’s Scientific Group on Rheumatic Disease) ประมาณการว่า มีประชากรโลกที่มีอายุมากกว่า 60 ปีเป็นโรคข้อเสื่อมกว่าร้อยละ 10 พบความชุกสูงสุดที่ข้อมือและพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย (Pereira et al., 2011; Cooper et al., 2013;)กลุ่มนักวิชาการโรคข้อเข่าเสื่อม ยืนยันว่าอุบัติการณ์เริ่มพบในประชาชนทั่วไปที่มีอายุตั้งแต่ 45 ปี ในจำนวนนี้กว่าร้อยละ 50 เป็นกลุ่มผู้มีอายุมากกว่า 65 ปี และรับประทานยาโรคเรื้อรัง ตำแหน่งของข้อที่มักพบการเสื่อม ได้แก่ ข้อเข่า สะโพก ข้อมือ กระดูกสันหลัง และข้อเท้าแต่ข้อที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อการเจ็บป่วยและการรับบริการมากที่สุดคือ ข้อเข่า(Brooks, 2003; Zhang et al., 2010; Richmond et al., 2010) โดยข้อที่เสื่อมมากที่สุด คือ ข้อเข่า เนื่องจากข้อเข่าเป็นข้อที่มีขนาดใหญ่และต้องรับน้ำหนักของร่างกายโดยตรง ทั้งยังต้องทำหน้าที่เคลื่อนไหวเกือบตลอดเวลา ทำให้ข้อเสื่อมได้ง่าย โรคข้อเข่าเสื่อม (Osteoarthritis of Knee) เป็นโรคที่มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางเสื่อมในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ (Adult and elderly group)และกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญของระบบบริการสุขภาพของประเทศไทยเนื่องจากเป็นโรคข้อที่พบบ่อยที่สุด เป็น 1 ใน 10 โรคที่เป็นสาเหตุสำคัญอันก่อให้เกิดความทุพพลภาพในผู้สูงอายุอีกทั้งมีผลกระทบสูงต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว อย่างไรก็ตาม เมื่อเกิดพยาธิสภาพของข้อเข่าอย่างไม่สามารถที่จะหลีกเลี่ยงได้แล้วการบำบัดแบบไม่ใช้ยา (Non-pharmacological treatment) และหรือการแพทย์แบบผสมผสาน (Complementary therapy) เป็นข้อเสนอที่ดีในการบำบัดที่ได้ผลดีที่สุด และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะโรคข้อเข่าเสื่อมระยะเริ่มต้น (Primary knee osteoarthritis) ซึ่งเป็นชนิดที่มีผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงอยู่ในชุมชนจำนวนมาก โรคข้อเข่าเสื่อมคือโรคที่เกิดจากการสึกกร่อนของกระดูกอ่อนผิวข้อซึ่งเป็นผลที่มาจากอายุที่เพิ่มขึ้นและการใช้งานมากเมื่อมีการใช้งานผิวข้อที่สึกจะมีการขัดสีกันทาให้เกิดอาการปวดข้อเข่าตามมาซึ่งในทางแผนไทยโรคข้อเข่าเสื่อมเปรียบได้กับโรคลมจับโปงเข่าโรคลมจับโปงคือโรคลมชนิดหนึ่งที่เกิดจากอาหารอากาศน้ำ และเป็นเฉพาะที่เข่ากับข้อเท้านั้นแบ่งเป็น 2 ชนิดได้แก่ 1.ลมจับโปงน้ำอาการปวดมากบวมแดงร้อนและมีน้าในข้อขณะที่บวมและอักเสบจะมีความร้อนขึ้นเสมอ 2.ลมจับโปงแห้งอาการบวมมีความร้อนไม่มากนักบางครั้งมีแดงเล็กน้อยแต่จะมีสภาวะหัวเข่าติดขาโก่งอาการปวดน้อยกว่าลมจับโปงน้า ดังนั้น ชมรมผู้ป่วยเบาหวาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวหรั่ง จึงได้จัดทำโครงการการผลิตยาพอกบำบัดอาการปวดเข่าขึ้น เนื่องจากพบอุบัติการณ์ของโรคกระดูกและข้อเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นสาเหตุสำคัญอันก่อให้เกิดความทุพพลภาพ มีผลกระทบสูงต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัวและเพื่อสนับสนุนโยบายของรัฐบาล ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ และเพื่อพัฒนาระบบบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทางแพทย์แผนไทยให้อยู่ในระดับที่ดีและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ กลุ่มผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยเรื้อรัง มีความรู้เกี่ยวกับการผลิตยายาพอกเข่าเพื่อบำบัดอาการปวด และสามารถผลิตยาพอกเข่าโดยใช้สมุนไพรในท้องถิ่นได้ 2 เพื่อลดการใช้ยาแผนปัจจุบันและเพิ่มการใช้ยาสมุนไพร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. - อบรบความรู้เรื่องโรคเข่าเสื่อม การดูแลสุขภาพตามศาสตร์การแพทย์แผนไทย - อบรบการทำยาพอกเข่าสมุนไพร และฝึกทักษะการพอกเข่า - อบรบความรู้การส่งเสริมสุขภาพและป้องการโรค (การบริหารร่างกายด้วยท่าฤๅษีดัดตน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหาด้านกล้ามเนื้อ เส้นเอ็นและข้อเข่าได้รับบริการลดอาการปวดด้วยยาพอกเข่า โดยมีอาการปวดลดลง มากกว่า หลังการรับบริการ   2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายและญาติผู้ป่วยสามารถทำยาพอกเข่าเองได้และมีความพึงพอใจในการใช้งานเพิ่มขึ้น
  3. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ผ่านการอบรมและสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาผลิตยาพอกเข่าได้   4. ประชาชนในกลุ่มเป้าหมายที่ใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพิ่มขึ้น และลดการใช้ยาแผนปัจจุบันเพื่อแก้ปวดลง (ชนิดรับประทาน , ทาภายนอก )


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. - อบรบความรู้เรื่องโรคเข่าเสื่อม การดูแลสุขภาพตามศาสตร์การแพทย์แผนไทย - อบรบการทำยาพอกเข่าสมุนไพร และฝึกทักษะการพอกเข่า - อบรบความรู้การส่งเสริมสุขภาพและป้องการโรค (การบริหารร่างกายด้วยท่าฤๅษีดัดตน)

วันที่ 2 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นตอนวางแผนงาน     1. วิเคราะห์ปัญหาสถานโรคข้อเข่าเสื่อมในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านชะรัด     2. เขียนโครงการเพื่อของบประมาณ     3. ประสานงานวิทยากรเพื่อให้ความรู้
  2. ขั้นตอนการดำเนินงาน     1. จัดกิจกรรมอบรบการผลิตยาพอกบำบัดอาการปวดเข่า เชิงปฏิบัติจริงโดยแพทย์แผนไทย
    • อบรบความรู้เรื่องโรคเข่าเสื่อม การดูแลสุขภาพตามศาสตร์การแพทย์แผนไทย
    • อบรบการทำยาพอกเข่าสมุนไพร และฝึกทักษะการพอกเข่า
    • อบรบความรู้การส่งเสริมสุขภาพและป้องการโรค (การบริหารร่างกายด้วยท่าฤๅษีดัดตน)
          2. ติดตามผลการพอกเข่าและอาการปวดเข่าในกลุ่มผู้ป่วยทุก 3 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 กลุ่มผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยเรื้อรัง มีความรู้เกี่ยวกับการผลิตยายาพอกเข่าเพื่อบำบัดอาการปวด และสามารถผลิตยาพอกเข่าโดยใช้สมุนไพรในท้องถิ่นได้
2 เพื่อลดการใช้ยาแผนปัจจุบันและเพิ่มการใช้ยาสมุนไพร

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ กลุ่มผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยเรื้อรัง มีความรู้เกี่ยวกับการผลิตยายาพอกเข่าเพื่อบำบัดอาการปวด และสามารถผลิตยาพอกเข่าโดยใช้สมุนไพรในท้องถิ่นได้ 2 เพื่อลดการใช้ยาแผนปัจจุบันและเพิ่มการใช้ยาสมุนไพร
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยเรื้อรัง สามารถผลิตยาพอกเข่าใช้เองได้ ร้อยละ 80 2.เพิ่มการใช้ยาสมุนไพรคิดเป็นร้อยละ 20 ของยาแผนปัจจุบัน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ กลุ่มผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยเรื้อรัง มีความรู้เกี่ยวกับการผลิตยายาพอกเข่าเพื่อบำบัดอาการปวด และสามารถผลิตยาพอกเข่าโดยใช้สมุนไพรในท้องถิ่นได้ 2 เพื่อลดการใช้ยาแผนปัจจุบันและเพิ่มการใช้ยาสมุนไพร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) - อบรบความรู้เรื่องโรคเข่าเสื่อม การดูแลสุขภาพตามศาสตร์การแพทย์แผนไทย  - อบรบการทำยาพอกเข่าสมุนไพร และฝึกทักษะการพอกเข่า - อบรบความรู้การส่งเสริมสุขภาพและป้องการโรค (การบริหารร่างกายด้วยท่าฤๅษีดัดตน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การอบรมการผลิตยาพอกบำบัดอาการปวดเข่า จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3308-2-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางระบาย แก้วน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด