โครงการคนหนองปรือสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายร่วมใจ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคนหนองปรือสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายร่วมใจ ”
ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางวันดี บุญชูวงศ์, นางละออง ท่ามถั่ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการคนหนองปรือสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายร่วมใจ
ที่อยู่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1515-02-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคนหนองปรือสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายร่วมใจ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคนหนองปรือสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายร่วมใจ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคนหนองปรือสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายร่วมใจ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1515-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,175.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบัน และในอนาคต ปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคม สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมมากขึ้นเช่นปัญหาการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือด และภาวะแทรกซ้อนจากโรคโรคมะเร็ง ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ปัญหาสุขภาพจิตสารเสพติด เป็นต้น ซึ่งจะเห็นได้ว่าปัญหาทุกปัญหาดังกล่าวมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนและการพัฒนาประเทศปัจจุบันสังคมไทยเริ่มย่างก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุและจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเต็มรูปแบบในไม่ช้าการดูแลสุขภาพของประชาชนจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งโดยการดูแลให้ประชาชนวัยทำงานมีสุขภาพที่แข็งแรง ห่างไกลโรคและกลุ่มที่เป็นโรคแล้วสามารถควบคุมโรคได้โดยไม่มีภาวะแทรกซ้อนและพัฒนางานอนามัยเจริญพันธุ์ที่มีคุณภาพตั้งแต่การวางแผนครอบครัวการฝากครรภ์การคลอดรวมไปถึงการเลี้ยงดู เพื่อเด็กเกิดใหม่มีคุณภาพและช่วยพัฒนาประเทศต่อไปได้ โดยพื้นที่ตำบลหนองปรือก็เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาดังกล่าวการแก้ไขปัญหาจึงจำเป็นต้องมีความร่วมมือจากทุกภาคส่วนดำเนินงานไปพร้อมๆกัน เป็นเครือข่ายที่มีความรู้และทักษะในการแก้ปัญหาประกอบกับการส่งต่อข้อมูลเชื่อมโยงกันในเครือข่ายเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับได้รับการดูแลทั้งเชิงบุคคลครอบครัวชุมชนอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในชุมชนและหน่วยงานบริการ
- เพื่อสนับสนุนให้มีบริการงานอนามัยแม่และเด็กที่มีคุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย
- เพื่อร่วมกำหนดเป้าหมายและวางแผนดำเนินการงานอนามัยเจริญพันธุ์ได้อย่างเหมาะสม
- เพื่อให้ประชาชนได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อ และตระหนักถึงการป้องกัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพเพื่อชี้แจงประเด็นปัญหาและร่วมวางแผนแนวทางแก้ไข
- เด็กสุขภาพดีเริ่มที่การตั้งครรภ์คุณภาพ
- งานอนามัยการเจริญพันธุ์
- งานควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ งานเบาหวาน / ความดัน /มะเร็งปากมดลูก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีสุขภาพที่ดีทั้งด้านร่างกายจิตใจสังคม
- ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และมีคุณภาพ
- เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดประชุมทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพเพื่อชี้แจงประเด็นปัญหาและร่วมวางแผนแนวทางแก้ไข
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพเพื่อชี้แจงประเด็นปัญหาและร่วมวางแผนแนวทางแก้ไข ทำให้เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีคณะกรรมการดำเนินงาน , เกิด Healthy Conner ประจำหมู่บ้านนำร่อง 4หมู่บ้าน
30
0
2. เด็กสุขภาพดีเริ่มที่การตั้งครรภ์คุณภาพ
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
สนับสนุนให้มีบริการงานอนามัยแม่และเด็กที่มีคุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ฝากครรภ์ก่อน 12wkร้อยละ60
-ฝากครรภ์5 ครั้งร้อยละ60 -นมแม่ ร้อยละ30 -ตั้งครรภ์ และท้องซ้ำไม่เกินร้อยละ10 -ได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก ร้อยละ 100 -เด็กมีโภชนาการสูงดีสมส่วน ร้อยละ 51
100
0
3. งานอนามัยการเจริญพันธุ์
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพร่วมกำหนดเป้าหมายและวางแผนดำเนินการงานอนามัยเจริญพันธุ์ได้อย่างเหมาะสม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนในพื้นที่ได้รับการวางแผนครอบครัวเหมาะสมกับบุคคลร้อยละ 90
30
0
4. งานควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ งานเบาหวาน / ความดัน /มะเร็งปากมดลูก
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพจัดบริการสุขภาพในงานต่างๆทั้งด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนในแต่ละหมู่บ้าน ประชาชนได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อ และตระหนักถึงการป้องกัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ประชาชนได้รับการคัดกรองร้อยละ 95
-ประชาชนทราบปริมาณโซเดียมที่ควรบริโภคร้อยละ90
365
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในชุมชนและหน่วยงานบริการ
ตัวชี้วัด : มีคณะกรรมการดำเนินงาน , เกิด Healthy Conner ประจำหมู่บ้านนำร่อง 4หมู่บ้าน
0.00
2
เพื่อสนับสนุนให้มีบริการงานอนามัยแม่และเด็กที่มีคุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : -ฝากครรภ์ก่อน 12wkร้อยละ60
-ฝากครรภ์5 ครั้งร้อยละ60
-นมแม่ ร้อยละ30
-ตั้งครรภ์ และท้องซ้ำไม่เกินร้อยละ10
-ได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก ร้อยละ 100
-เด็กมีโภชนาการสูงดีสมส่วน ร้อยละ 51
0.00
3
เพื่อร่วมกำหนดเป้าหมายและวางแผนดำเนินการงานอนามัยเจริญพันธุ์ได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่ได้รับการวางแผนครอบครัวเหมาะสมกับบุคคลร้อยละ 90
0.00
4
เพื่อให้ประชาชนได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อ และตระหนักถึงการป้องกัน
ตัวชี้วัด : -ประชาชนได้รับการคัดกรองร้อยละ 95
-ประชาชนทราบปริมาณโซเดียมที่ควรบริโภคร้อยละ90
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในชุมชนและหน่วยงานบริการ (2) เพื่อสนับสนุนให้มีบริการงานอนามัยแม่และเด็กที่มีคุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย (3) เพื่อร่วมกำหนดเป้าหมายและวางแผนดำเนินการงานอนามัยเจริญพันธุ์ได้อย่างเหมาะสม (4) เพื่อให้ประชาชนได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อ และตระหนักถึงการป้องกัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพเพื่อชี้แจงประเด็นปัญหาและร่วมวางแผนแนวทางแก้ไข (2) เด็กสุขภาพดีเริ่มที่การตั้งครรภ์คุณภาพ (3) งานอนามัยการเจริญพันธุ์ (4) งานควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ งานเบาหวาน / ความดัน /มะเร็งปากมดลูก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคนหนองปรือสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายร่วมใจ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1515-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวันดี บุญชูวงศ์, นางละออง ท่ามถั่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคนหนองปรือสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายร่วมใจ ”
ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางวันดี บุญชูวงศ์, นางละออง ท่ามถั่ง
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1515-02-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคนหนองปรือสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายร่วมใจ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคนหนองปรือสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายร่วมใจ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคนหนองปรือสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายร่วมใจ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1515-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,175.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบัน และในอนาคต ปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคม สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมมากขึ้นเช่นปัญหาการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือด และภาวะแทรกซ้อนจากโรคโรคมะเร็ง ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ปัญหาสุขภาพจิตสารเสพติด เป็นต้น ซึ่งจะเห็นได้ว่าปัญหาทุกปัญหาดังกล่าวมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนและการพัฒนาประเทศปัจจุบันสังคมไทยเริ่มย่างก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุและจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเต็มรูปแบบในไม่ช้าการดูแลสุขภาพของประชาชนจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งโดยการดูแลให้ประชาชนวัยทำงานมีสุขภาพที่แข็งแรง ห่างไกลโรคและกลุ่มที่เป็นโรคแล้วสามารถควบคุมโรคได้โดยไม่มีภาวะแทรกซ้อนและพัฒนางานอนามัยเจริญพันธุ์ที่มีคุณภาพตั้งแต่การวางแผนครอบครัวการฝากครรภ์การคลอดรวมไปถึงการเลี้ยงดู เพื่อเด็กเกิดใหม่มีคุณภาพและช่วยพัฒนาประเทศต่อไปได้ โดยพื้นที่ตำบลหนองปรือก็เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาดังกล่าวการแก้ไขปัญหาจึงจำเป็นต้องมีความร่วมมือจากทุกภาคส่วนดำเนินงานไปพร้อมๆกัน เป็นเครือข่ายที่มีความรู้และทักษะในการแก้ปัญหาประกอบกับการส่งต่อข้อมูลเชื่อมโยงกันในเครือข่ายเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับได้รับการดูแลทั้งเชิงบุคคลครอบครัวชุมชนอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในชุมชนและหน่วยงานบริการ
- เพื่อสนับสนุนให้มีบริการงานอนามัยแม่และเด็กที่มีคุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย
- เพื่อร่วมกำหนดเป้าหมายและวางแผนดำเนินการงานอนามัยเจริญพันธุ์ได้อย่างเหมาะสม
- เพื่อให้ประชาชนได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อ และตระหนักถึงการป้องกัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพเพื่อชี้แจงประเด็นปัญหาและร่วมวางแผนแนวทางแก้ไข
- เด็กสุขภาพดีเริ่มที่การตั้งครรภ์คุณภาพ
- งานอนามัยการเจริญพันธุ์
- งานควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ งานเบาหวาน / ความดัน /มะเร็งปากมดลูก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีสุขภาพที่ดีทั้งด้านร่างกายจิตใจสังคม
- ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และมีคุณภาพ
- เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดประชุมทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพเพื่อชี้แจงประเด็นปัญหาและร่วมวางแผนแนวทางแก้ไข |
||
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำจัดประชุมทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพเพื่อชี้แจงประเด็นปัญหาและร่วมวางแผนแนวทางแก้ไข ทำให้เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีคณะกรรมการดำเนินงาน , เกิด Healthy Conner ประจำหมู่บ้านนำร่อง 4หมู่บ้าน
|
30 | 0 |
2. เด็กสุขภาพดีเริ่มที่การตั้งครรภ์คุณภาพ |
||
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำสนับสนุนให้มีบริการงานอนามัยแม่และเด็กที่มีคุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ฝากครรภ์ก่อน 12wkร้อยละ60 -ฝากครรภ์5 ครั้งร้อยละ60 -นมแม่ ร้อยละ30 -ตั้งครรภ์ และท้องซ้ำไม่เกินร้อยละ10 -ได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก ร้อยละ 100 -เด็กมีโภชนาการสูงดีสมส่วน ร้อยละ 51
|
100 | 0 |
3. งานอนามัยการเจริญพันธุ์ |
||
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพร่วมกำหนดเป้าหมายและวางแผนดำเนินการงานอนามัยเจริญพันธุ์ได้อย่างเหมาะสม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนในพื้นที่ได้รับการวางแผนครอบครัวเหมาะสมกับบุคคลร้อยละ 90
|
30 | 0 |
4. งานควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ งานเบาหวาน / ความดัน /มะเร็งปากมดลูก |
||
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพจัดบริการสุขภาพในงานต่างๆทั้งด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนในแต่ละหมู่บ้าน ประชาชนได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อ และตระหนักถึงการป้องกัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ประชาชนได้รับการคัดกรองร้อยละ 95 -ประชาชนทราบปริมาณโซเดียมที่ควรบริโภคร้อยละ90
|
365 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในชุมชนและหน่วยงานบริการ ตัวชี้วัด : มีคณะกรรมการดำเนินงาน , เกิด Healthy Conner ประจำหมู่บ้านนำร่อง 4หมู่บ้าน |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อสนับสนุนให้มีบริการงานอนามัยแม่และเด็กที่มีคุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ตัวชี้วัด : -ฝากครรภ์ก่อน 12wkร้อยละ60 -ฝากครรภ์5 ครั้งร้อยละ60 -นมแม่ ร้อยละ30 -ตั้งครรภ์ และท้องซ้ำไม่เกินร้อยละ10 -ได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก ร้อยละ 100 -เด็กมีโภชนาการสูงดีสมส่วน ร้อยละ 51 |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อร่วมกำหนดเป้าหมายและวางแผนดำเนินการงานอนามัยเจริญพันธุ์ได้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่ได้รับการวางแผนครอบครัวเหมาะสมกับบุคคลร้อยละ 90 |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อให้ประชาชนได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อ และตระหนักถึงการป้องกัน ตัวชี้วัด : -ประชาชนได้รับการคัดกรองร้อยละ 95 -ประชาชนทราบปริมาณโซเดียมที่ควรบริโภคร้อยละ90 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในชุมชนและหน่วยงานบริการ (2) เพื่อสนับสนุนให้มีบริการงานอนามัยแม่และเด็กที่มีคุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย (3) เพื่อร่วมกำหนดเป้าหมายและวางแผนดำเนินการงานอนามัยเจริญพันธุ์ได้อย่างเหมาะสม (4) เพื่อให้ประชาชนได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อ และตระหนักถึงการป้องกัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพเพื่อชี้แจงประเด็นปัญหาและร่วมวางแผนแนวทางแก้ไข (2) เด็กสุขภาพดีเริ่มที่การตั้งครรภ์คุณภาพ (3) งานอนามัยการเจริญพันธุ์ (4) งานควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ งานเบาหวาน / ความดัน /มะเร็งปากมดลูก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคนหนองปรือสุขภาพดี ภาคีเครือข่ายร่วมใจ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1515-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวันดี บุญชูวงศ์, นางละออง ท่ามถั่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......