กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา


“ โครงการชาวบ้านนาใส่ใจ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายเมธี ศิริโชติ

ชื่อโครงการ โครงการชาวบ้านนาใส่ใจ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวบ้านนาใส่ใจ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวบ้านนาใส่ใจ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวบ้านนาใส่ใจ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 477,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขของตำบลบ้านนา อำเภอจะนะจังหวัดสงขลาและเป็นโรคติดต่อประจำถิ่นที่แพร่ระบาดได้รวดเร็ว เนื่องจากเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค มีการระบาดตลอดปีและพบมากในฤดูฝนจากการสำรวจข้อมูลการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออกในปีที่ผ่านมา พบว่าประชากรส่วนใหญ่ยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายรวมไปถึงการดูแลสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ส่งผลให้อัตราป่วยของโรคไข้เลือดออกไม่ลดลง ซึ่งเป็นโรคที่พบบ่อยและเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตจากรายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของตำบลบ้านนา 5 ปี ย้อนหลัง พ.ศ. 2556, 2557, 2558, ๒๕๕๙ และ ๒๕๖๐ (เดือน ม.ค. - ก.ย. ๒๕๖๐) พบว่าอัตรา 26.99, 883.82, 174.57, 339.36 และ ๒๐๔.๔๘ ต่อประชากรแสนคน(งานระบาดวิทยา สสอ.จะนะ) ซึ่งตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุขอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจะต้องไม่เกิน50ต่อแสนประชากรและต้องลดลง20%ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง5ปีจากสถิติดังกล่าวจะเห็นได้ว่าบางปีอัตราป่วยยังสูงกว่าเกณฑ์ตัวชี้วัดอยู่มาก ดังนั้น การดำเนินงานที่สำคัญที่สุดในการควบคุมโรคไข้เลือดออก คือการป้องกันโรคล่วงหน้าซึ่งต้องดำเนินการก่อนการเกิดโรคหากเกิดการระบาดแล้วการควบคุมโรคจะทำได้ลำบากและสูญเสียงบประมาณในการดำเนินงานเพิ่มมากขึ้น จึงจำเป็นต้องดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลจะนะ เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดให้มีชาวบ้านนาใส่ใจ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออก ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ขึ้นเพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลบ้านนา มีความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการวางแผนและจัดการกับปัญหาโรคไข้เลือดออกของชุมชนเอง ส่งผลให้เกิดความยั่งยืนในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของตำบลบ้านนาไม่ให้เกินเป้าหมายที่กำหนด
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคและวิธีการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมตามหลัก 3 เก็บ
  4. ข้อที่ ๔ เพื่อสร้างความร่วมมือ และส่งเสริมการทำงานร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก
  5. ข้อที่ ๕ ทีม SRRT มีความรู้และทักษะในการใช้/บำรุงรักษาเครื่องพ่นหมอกควันและละอองฝอย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ ๑ รณรงค์ปรับปรุงกายภาพ (Big Cleaning) ย่อยรายหมู่บ้าน
  2. กิจกรรมที่ ๒ การสร้างกระแสโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในโรงเรียน (เขตเทศบาลตำบลบ้านนา)
  3. กิจกรรมที่ ๓ อบรมฟื้นฟูศักยภาพทีม SRRT ตำบลบ้านนา
  4. กิจกรรมที่ ๔ รณรงค์พ่นหมอกควัน/พ่นละอองฝอย กรณี เมื่อเกิดผู้ป่วย แบบเร่งด่วนต้องควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง
  5. กิจกรรมที่ ๕ จัดซื้อวัสดุอื่นๆ เพื่อใช้ในกิจกรรมรณรงค์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคและวิธีการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคระบาดที่พบบ่อยในพื้นที่
  2. ประชาชนเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการดำเนินการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคระบาดที่พบบ่อยในพื้นที่
    1. ค่า HI และค่า CIลดลงตามเกณฑ์ที่กำหนด
    2. อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกของเทศบาลตำบลบ้านนาลดลง
  3. ประชาชนมีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับดีขึ้นไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของตำบลบ้านนาไม่ให้เกินเป้าหมายที่กำหนด
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ของตำบลบ้านนา ลดลงเหลือไม่เกิน 50 ต่อประชากรแสนคน
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคและวิธีการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้เรื่องโรค และวิธีการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกมากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมตามหลัก 3 เก็บ
ตัวชี้วัด : ชุมชนให้ความร่วมมือในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ชีวภาพและเคมีมากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

4 ข้อที่ ๔ เพื่อสร้างความร่วมมือ และส่งเสริมการทำงานร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ประชากรเข้าร่วมกิจกรรมโครงการมากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

5 ข้อที่ ๕ ทีม SRRT มีความรู้และทักษะในการใช้/บำรุงรักษาเครื่องพ่นหมอกควันและละอองฝอย
ตัวชี้วัด : ทีม SRRT มีความรู้และทักษะในการใช้และบำรุงรักษาเครื่องพ่นหมอกควันและละอองฝอยมากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของตำบลบ้านนาไม่ให้เกินเป้าหมายที่กำหนด (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคและวิธีการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมตามหลัก 3 เก็บ (4) ข้อที่ ๔ เพื่อสร้างความร่วมมือ และส่งเสริมการทำงานร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก (5) ข้อที่ ๕ ทีม SRRT มีความรู้และทักษะในการใช้/บำรุงรักษาเครื่องพ่นหมอกควันและละอองฝอย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑ รณรงค์ปรับปรุงกายภาพ (Big Cleaning) ย่อยรายหมู่บ้าน (2) กิจกรรมที่ ๒ การสร้างกระแสโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในโรงเรียน (เขตเทศบาลตำบลบ้านนา) (3) กิจกรรมที่ ๓ อบรมฟื้นฟูศักยภาพทีม SRRT ตำบลบ้านนา (4) กิจกรรมที่ ๔  รณรงค์พ่นหมอกควัน/พ่นละอองฝอย กรณี เมื่อเกิดผู้ป่วย แบบเร่งด่วนต้องควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง (5) กิจกรรมที่ ๕  จัดซื้อวัสดุอื่นๆ เพื่อใช้ในกิจกรรมรณรงค์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชาวบ้านนาใส่ใจ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเมธี ศิริโชติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด