กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ชื่อแผนงาน/โครงการ : โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส 1. ผลการดำเนินงาน ๑.๑ จัดกิจกรรม “เมาะสือแม สุขภาพดี/บ้านสะอาด ชีวีเป็นสุข” กิจกรรมดังนี้ - ให้ความรู้เรื่องการจัดสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกบ้านเรือนที่ถูกสุขลักษณะ - วิธีการป้องกัน,กำจัดลูกน้ำยุงลายและประกวดบ้านสะอาดถูกสุขลักษณะ - ตรวจสุขภาพ ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน และการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม - มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐  คน
๑.๒ จัดกิจกรรม “เด็ก ๐-๕ ปี ชุมชนกูแบบาเดาะ สุขภาพดี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์” กิจกรรมดังนี้ - กิจกรรมการให้ความรู้เกี่ยวกับการได้รับวัคซีน - ติดตามเยี่ยมบ้านเด็ก ๐-๑ ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบ - มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐  คน ๑.๓ จัดกิจกรรม “บางนราร่วมใจ ชุมชนปลอดโรค ปลอดภัย ไร้ยุง” กิจกรรมดังนี้ - ให้ความรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและการกำจัดลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนและในชุมชน - Big cleaning day บริเวณรอบๆบ้านและในชุมชน - กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ตามหลัก 3ป. (บริเวณบ้านสะอาด/ถูกสุขลักษณะ/ค่าภาชนะที่พบลูกน้ำยุงลาย (CI) หรือค่าพบลูกน้ำยุงลาย (HI) ไม่เกินเกณฑ์) - มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐  คน ๑.๔ จัดกิจกรรม “การปรับเปลี่ยนสุขภาพด้านการออกกำลังกายด้วยศาสตร์มณีเวช ตามวิถีมุสลิม ชุมชนฮูยงตันหยง” กิจกรรมดังนี้ - การให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายด้วยศาสตร์มณีเวช ตามวิถีมุสลิม - มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐  คน
๑.๕ จัดกิจกรรม “รายอบือรากะ รวมใจ ปลอดภัย ไร้ยุง” กิจกรรมดังนี้ - ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการกำจัดยุงในครัวเรือนและชุมชน - Big cleaning day บริเวณรอบๆบ้านและในชุมชน - มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐  คน
๑.๖ จัดกิจกรรม “ส่งเสริมการตรวจสุขภาพประจำปี และคัดกรองโรคเบื้องต้น ชุมชนมัดยามันรู้เท่าทันโรค ห่างไกลความเจ็บป่วย” กิจกรรมดังนี้ - การคัดกรองภาวะสุขภาพเบื้องต้น - วัดความดันโลหิตสูง - วัดระดับน้ำตาลในเลือด(DTX) - มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๘๐  คน

  1. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ บรรลุตามวัตถุประสงค์ ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/กิจกรรมทั้งหมด ๔๘๐ คน
  2. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ๖0,000 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ๕๙,๗๖๔ บาท คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๖ งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ๒๓๖ บาท คิดเป็นร้อยละ ๐.๓๙
  3. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ไม่มี มี ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) :
    1. ภาษาในการสื่อสารระหว่างนักศึกษากับคนในชุมชนไม่เข้าใจกันในบางคำพูด
    2. สภาพอากาศในวันจัดโครงการไม่เอื้ออำนวย เนื่องจากมีลมแรงและฝนตกหนัก
    3. การประสานงานกับวิทยากรยังขาดการประสานงานที่ดี
    4. ความไม่แน่นอนของประชากรที่ร่วมงาน แนวทางแก้ไข (ระบุ)
    5. ควรมีการวางแผนในการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้เกิดความแน่นอน และทำให้การปะระสานงานเป็นไปอย่างราบรื่น
    6. การประชาสัมพันธ์ภายในชุมชนต้องอาศัยหลายๆฝ่ายร่วมมือกันเพื่อให้เกิดความทั่วถึงในการประชาสัมพันธ์ เช่น จากผู้ใหญ่บ้าน เจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพ. เจ้าหน้าที่ อสม. ประชาชนในชุมชน
    7. ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ควรมีการวางแผนการแบ่งงาน และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน เพื่อให้งานมีประสิทธิภาพ และประสบผลสำเร็จมากขึ้น เช่น ด้านการติดต่อประสานงาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และด้านการแปลผล และสรุปผล
    8. ในการจัดโครงการควรมีการจัดกิจกรรมตามละแวกบ้านของคนในชุมชน เพราะจะทำให้ได้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ได้มากขึ้น


ลงชื่อ..................................................ผู้รายงาน         (นางเจ๊ะอัสนะห์  สาเมาะ)                               ตำแหน่ง ประธาน /อสม.ชุมชนเมาะสือแม                                   วันที่-เดือน-พ.ศ. ................................................

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้อสม. และผู้นำชุมชนในชุมชนวัดบางนรา ชุมชนกูแบบาเดาะ ชุมชนรายอบือรากะ ชุมชนฮูยงตันหยง ชุมชนมัตยามัน และชุมชนเมาะสือแม เกิดการเรียนรู้แนวทางการกำหนดปัญหาและการดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน
ตัวชี้วัด : อสม.และผู้นำชุมชนในชุมชนวัดบางนรา ชุมชนกูแบบาเดาะ ชุมชนรายอบือรากะ ชุมชนฮูยงตันหยง ชุมชนมัตยามัน และชุมชนเมาะสือแม เข้าร่วมประชุมและร่วมกันกำหนดแนวทางการกำหนดปัญหาและการดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน อย่างน้อยร้อยละ 80
80.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพ ได้รับการบริการสุขภาพอย่างทั่วถึง
ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนวัดบางนรา ชุมชนกูแบบาเดาะ ชุมชนรายอบือรากะ ชุมชนฮูยงตันหยง ชุมชนมัตยามัน และชุมชนเมาะสือแม เข้าร่วมกิจกรรมโครงการอย่างน้อยร้อยละ 60
60.00

 

3 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน นำองค์ความรู้ที่ได้ไปให้บริการทางวิชาการได้ตรงกับปัญหาและความต้องการของชุมชน
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผ่านเกณฑ์การประเมินด้านความรู้หลังเสร็จสิ้นโครงการอย่างน้อยร้อยละ 60 และสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปให้บริการทางวิชาการได้ตรงกับปัญหาและความต้องการของชุมชน
60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 480
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 480
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อสม. และผู้นำชุมชนในชุมชนวัดบางนรา ชุมชนกูแบบาเดาะ ชุมชนรายอบือรากะ ชุมชนฮูยงตันหยง ชุมชนมัตยามัน และชุมชนเมาะสือแม เกิดการเรียนรู้แนวทางการกำหนดปัญหาและการดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน  (2) เพื่อให้ประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพ ได้รับการบริการสุขภาพอย่างทั่วถึง (3) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน นำองค์ความรู้ที่ได้ไปให้บริการทางวิชาการได้ตรงกับปัญหาและความต้องการของชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh