กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ


“ โครงการรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร ”

อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายนราธิปสินโน

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร

ที่อยู่ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7499-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7499-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ หลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหาร นอกเหนือจากรสชาติของอาหารแล้วสิ่งสำคัญ ที่ต้องคำนึงถึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วย คือคุณค่าตามหลักโภชนาการและความสะอาดปลอดภัยของอาหาร ปัจจุบันการบริโภคอาหารของประชาชนส่วนใหญ่ จะพึ่งอาหารนอกบ้านซึ่งมีความเสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่ครบตามความต้องการของร่างกายหรือได้รับสารอาหารอย่างหนึ่งมากเกินไป รวมทั้งได้รับอาหารที่มีเชื้อโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหารและสารพิษอันตรายปนเปื้อนอีกด้วย การบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่สะอาดปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน ซึ่งมีการปนเปื้อนจากภาชนะบรรจุอาหารเอง อันตรายที่เกิดจากสารเคมีของภาชนะบรรจุอาหารมักไม่ได้รับความสนใจ เนื่องจากไม่ได้เกิดผลกระทบในทันทีทันใด แต่จะค่อยๆ สะสมในร่างกายจนเกิดอันตราย ภาชนะบรรจุอาหาร หมายถึง วัตถุที่ใช้บรรจุอาหารไม่ว่าจะด้วยการใส่ห่อ หรือวิธีใดๆ โดยอาหารแต่ละชนิดมีความต้องการภาชนะที่แตกต่างกัน นอกจากนี้ภาชนะบรรจุต้องมีคุณสมบัติ คือ ต้องเป็นภาชนะมีคุณภาพ สะอาดไม่มีจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ไม่มีสี หรือโลหะหนัก ออกมาปนเปื้อนกับอาหารในปริมาณที่เป็นอันตรายที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ เป็นเวลานานแล้วที่พลาสติกและโฟมถูกใช้แทนใบตอง กระดาษ โลหะหรือแก้ว ในการบรรจุอาหารอาจเนื่องมาจากพลาสติกและโฟม สามารถทำให้เกิดรูปทรงตามที่ต้องการได้ง่าย มีน้ำหนักเบา ราคาถูก และหาซื้อง่าย จึงเป็นที่นิยมเรื่อยมา แต่จะมีผู้บริโภคสักกี่คนที่ตระหนักถึงอันตรายที่แฝงอยู่ในภาชนะบรรจุที่ไม่เหมาะสม โดยเฉพาะกล่องโฟมที่มักถูกนำมาบรรจุอาหารที่ร้อน และมีน้ำมันขึ้นจากเตาใหม่ๆ เช่น ข้าวผัด ผัดไทย หอยทอด เป็นต้น ซึ่งมีคุณสมบัติที่สามารถละลายสารบางชนิดออกมาจากกล่องโฟม และปนเปื้อนสู่อาหารได้ นอกจากนี้อาจมีสารพิษอีกหลายชนิด โดยเฉพาะ สารโพลีสไตลีน (Polystyrene) เมื่อได้รับความร้อนสูงจะให้สาร ๒ ชนิด คือ สไตรีน (Styrene) และเบนซีน (Benzene) ซึ่งเบนซีนเป็นสารที่ทราบกันอยู่แล้วว่ามีความเป็นพิษสูงและเป็นสารก่อมะเร็ง ซึ่งอาการของผู้ที่ได้รับเบนซีนเข้าไป คือ ระยะแรกจะเกิดอาการ วิงเวียน คลื่นไส้ ถ้าดื่มน้ำหรือกินอาหารที่มีสารเบนซีนปนเปื้อนอยู่สูง จะทำให้มีอาการปวดท้องเนื่องจากกระเพาะถูกกัดกร่อน เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ง่วงนอน ชัก หัวใจเต้นแรง และอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ สำหรับ สไตรีน (Styrene) มีผลต่อร่างกายเมื่อถูกผิวหนังหรือเข้าตาจะทำให้ระคายเคือง การสูดเข้าไปจะมีอาการไอ และหายใจลำบาก เพราะไปทำให้เยื่อเมือกเกิดความระคายเคือง ปวดศีรษะ ง่วงซึม ปัจจุบันผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร นิยมใช้กล่องโฟมบรรจุอาหารกันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากมีความสะดวก รวดเร็ว และในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลสทิงพระเอง ก็มีผู้ประกอบการจำนวนมากที่ยังนิยมใช้กล่องโฟมบรรจุอาหาร โดยขาดความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับอันตรายที่จะส่งผลต่อผู้บริโภค เนื่องจากกล่องโฟมเมื่อสัมผัสกับอาหารเป็นระยะเวลานานอาจทำให้สไตรีน ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งออกมาปนเปื้อนกับอาหารที่บรรจุได้ โดยปริมาณการละลายสารเคมีออกมา จะมากน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัย ๓ อย่าง คือ ไขมันในอาหาร ระยะเวลา และอุณหภูมิระหว่างการสัมผัสของอาหารกับภาชนะ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลสทิงพระ จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหารขึ้น เพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารและผู้บริโภคมีความรู้ ตระหนักถึงความปลอดภัยของการบริโภคอาหาร และเพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีปราศจากโรคที่มีสาเหตุมาจากการบริโภคอาหาร

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหาร และลด ละ เลิกการใช้โฟมในการบรรจุอาหาร
  2. เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารและผู้บริโภคได้ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์ลดการใช้โฟมบรรจุอาหาร
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ประกอบการและผู้บริโภคมีความความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงอันตรายจากการใช้กล่องโฟมในการบรรจุอาหาร
  2. ผู้ประกอบการเลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่มีความปลอดภัยต่อสุขภาพทดแทนโฟม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมรณรงค์ลดการใช้โฟมบรรจุอาหาร

วันที่ 4 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายไวนิลรณรงค์ ละ ละ เลิกการใช้โฟม และสติ๊กเกอร์ปลอดโฟม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดป้ายไวนิลรณรงค์ ละ ละ เลิกการใช้โฟมบรรจุอาหาร ในเขตเทศบาลตำบลสทิงพระ และสติ๊กเกอร์ปลอดโฟม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหาร และลด ละ เลิกการใช้โฟมในการบรรจุอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น
0.00

 

2 เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารและผู้บริโภคได้ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของสถานประกอบการที่เข้ารับการอบรม ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหารและหันมาใช้วัสดุทดแทนโฟมในการบรรจุอาหาร
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหาร และลด  ละ เลิกการใช้โฟมในการบรรจุอาหาร (2) เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารและผู้บริโภคได้ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้กล่องโฟมบรรจุอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ลดการใช้โฟมบรรจุอาหาร  (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7499-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนราธิปสินโน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด