กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพการดูและสุขภาพมารดาและทารก ปีงบประมาณ 2561
รหัสโครงการ 61-L4140-1-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำพะยา
วันที่อนุมัติ 8 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 14,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ น.ส.ลีนาสาและ
พี่เลี้ยงโครงการ น.ส.ซลมาหะยีสะมะแอ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.584,101.162place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หญ่ิงตั้งครรค์ในตำบลลำพะยา ไม่ได้มีความรู้ในการดูแลตนเองหลังคลอด ประกอบกยการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ทำให้เสี่ยงต่อสุชภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้หญิ่งตั้งครรภ์ สามี มารดาหลังคลอด อาสาสมัครสาธารณสุข ผดบ../แม่อาสา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการฝากครรค์ก่อนอายุ 12 สัปดาห์ และการปฏิบัติตนในขณะตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง

หญิ่งตั้งครรภ์ สามี มารดาหลังคลอด อาสาสมัครสาธารณสุข ผดบ../แม่อาสา  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการฝากครรค์ก่อนอายุ 12 สัปดาห์ และการปฏิบัติตนในขณะตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง ได้ร้อยละ 80

0.00
2 2. เพื่อเพ่ิมความรู้ความเข้าใจแก่อาสาสมัครสาธารณสุข แม่อาสา และสามารถค้นหาแนะนำหญิงมีครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์

เพ่ิมความรู้ความเข้าใจแก่อาสาสมัครสาธารณสุข แม่อาสา  และสามารถค้นหาแนะนำหญิงมีครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ได่ี้ร้อยละ 80

0.00
3 3. เพื่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่

กิดคุณภาพชีวิตที่ดีโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่ ได้ร้อยละ 80

0.00
4 4.เพื่อส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ และเพื่่อพัฒนาระบบการดูแลตั้งแต่ตั้งครรภ์ถึงหลังคลอดให้ได้รับการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพ ผู้รับบริการพึงพอใจในระบบบริการที่ได้มาตรฐาน

ส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์  และเพื่่อพัฒนาระบบการดูแลตั้งแต่ตั้งครรภ์ถึงหลังคลอดให้ได้รับการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพ  ผู้รับบริการพึงพอใจในระบบบริการที่ได้มาตรฐาน ได้ร้อยละ  80

0.00
5 5. เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการ มีความรู้ มีความเข้าใจ และทัศคติที่ดี เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง

ผู้ร่วมโครงการ มีความรู้ มีความเข้าใจ  และทัศคติที่ดี เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง ได้ร้อยละ 80

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.เขียนโครงการและขอนุมัติตามลำดับขั้นตอน 2.ประสานผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงานตามโครงการ
3. เขียนโครงการเสนอเพื่ออนุมัติโครงการ 4. จัดอบรมหญิงมีครรภ์ หญิ่งที่แต่งงานใหม่และสามีหญิงวัยเจริญพันธ์ อาสาสมัครสาธารณสุข แม่อาสา โดยมีรายละเอียด ดังนี้ - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 คน x 1 มื้อๆ ละ 50 บาท x 1 วันเป็นเงิน5,000บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 100 คน x 2 มื้อๆ ละ 25 บาท x 1 วันเป็นเงิน5,000บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คนx 6 ชม. ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน1,800 บาท - ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 2,000 บาท - ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1x3 เมตรจำนวน 1 ป้ายเป็นเงิน 1,000 บาท 5.ประเมินกระบวนการจัดโครงการที่ประชุม 6. จัดทำรายงาน สรุปผลการจัดโครงการ

7. สรุปผลการประเมินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงมีครรภ์ มารดาหลังคลอด อาสาสมัครสาธารณสุขผดบ./แม่อาสา มีความรู้และสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง 2. หญิงมีครรภ์ทุกคนได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์และครบตามเกณฑ์

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มี.ค. 2561 09:12 น.