โครงการ อย.น้อยในโรงเรียน ปีงบประมาณ 2561
ชื่อโครงการ | โครงการ อย.น้อยในโรงเรียน ปีงบประมาณ 2561 |
รหัสโครงการ | 61-L4140-1-3 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำพะยา |
วันที่อนุมัติ | 8 มีนาคม 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 9,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางรุ่งทิพย์ ศรีระที |
พี่เลี้ยงโครงการ | น.ส.ซัลมา หะยีสะมะแอ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.584,101.162place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เนื่องจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้เล็งเห็นความสำคัญของเด็กที่อยู่ในวัยเรียนซึ่งเป๋็นผู้ที่กระตือรือร้นในการทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์และเป็นผู้ทีท่มีศักยภาพในตัวเองสามารถชี้นำเพื่อนและผู้ปกครองให้สนับสนุนการดำเนนิงานที่ดีอย่างได้ผล จึงได้มีโครงการ อย.น้อยในโรงเรียน ประจำปี 2561โดยนำศักยภาพของนักเรียนมาใช้ เพื่อให้กลุ่มนักเรียน อย.น้อยมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย รวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน ครอบครัว และชุมชน มีการตรวจสอบ เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพตลอดจนโฆษณาที่โอ้อวดเกินจริง ซึ่งเป็นโครงการที่เน้นการสร้างเคือข่าว ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน (อย.น้อย)พัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียน ให้มีการรับรู้สิทธิผู้บริโภคและพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมและมีการเฝ้าระวังอาหารและผลิตภัณฑ์ทสุขภาพทั้งในโรงเรียนและชุมชนเพื่อสร้างเยาวชนให้สามารถปกป้องคุ้มครองตนเอง ครอบครัว และสังคม ให้ปลอดภัยจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพมีคุณภาพชีวิตที่ดี สุขภาพแข็งแรงเกิดเป็นเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เข้มแข็ง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทัศคติที่ดีต่อการบริโภค และตระหนักในเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียน นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทัศคติที่ดีต่อการบริโภค และตระหนักในเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียน ได้ร้อยละ80 |
0.00 | |
2 | 2. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน ในเรื่องความไม่ปลอดภัยของอาหารในโรงเรียน ส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน ในเรื่องความไม่ปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนได้ร้อยละ 80 |
0.00 | |
3 | 3. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในการรณรงค์ให้ความรู้ด้านการบริโภคสู่เพืื่อนนักเรียน และบุคคลอื่นๆ ในโรงเรียน ผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในการรณรงค์ให้ความรู้ด้านการบริโภคสู่เพืื่อนนักเรียน และบุคคลอื่นๆ ในโรงเรียน ได้ร้อยละ 80 |
0.00 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- ประสานงานเกับทางโรงเรียน เพื่อแจ้งกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
- จัดกิจกรรมอบรมแกนนำนักเรียนอย.น้อยโดยให้ความรู้ ความเข้าใจ เรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียนรวมทั้งยา และวตถุอันตราย
- กิจกรรมการตรวจสอบด้านการสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน
โดยมีรายละเอียดกิจกรรมการอบรมใ้ห้ความรู้แกนนำนักเรียน (อย.น้อย) ดังนี้
- ค่าอาหารกลางวัน (50 คน x 50 บาท x 1 ม้ื้อ x 1 วัน) เป็นเงิน 2,500 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่่ม(50 คน x 25 บาท x 2 ม้ื้อ x 1 วัน) เป็นเงิน 2,500 บาท - ค่าวิทยากร (1 คน x 300 บาท x 5 ชม.x 1 วัน)เป็นเงิน 1,500 บาท - ค่าวัสดุในการจัดอบรม ได้แก่ปากกา 50 ด้าน x 10 บาทเป็นเงิน 500 บาทค่ากระเป๋าผ้าใส่เอกสาร 50 ใบ x 20 บาทเป็นเงิน 1,000 บาท - เอกสารประกอบการอบรม จำนวน 50 เล่ม x 20 บาท เป็นเงิน1,000 บาท
- นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภค และมีตระหนักในเรื่องแาหารปลอดภัยในโรงเรียน
- ภาคีเครือข่ายสุขภาพทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการดำเนินงาน อย.น้อยในโรงเรียน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มี.ค. 2561 10:14 น.