กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการธนาคารขยะเพื่อควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลหารเทา ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
เทศบาลตำบลหารเทา

ชื่อโครงการ โครงการธนาคารขยะเพื่อควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลหารเทา

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3339-02-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มีนาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการธนาคารขยะเพื่อควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลหารเทา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการธนาคารขยะเพื่อควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลหารเทา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการธนาคารขยะเพื่อควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลหารเทา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3339-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มีนาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 148,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขยายตัวของชุมชนจากสังคมชนบทเป็นสังคมเมือง และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดปัญหาขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลเพิ่มมากขึ้น จำเป็นจะต้องได้รับการจัดการที่เหมาะสมเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาจนเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยกฎหมายได้กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ในการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล เช่น พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542มาตรา 16 “ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจหน้าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ดังนี้ (17) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง(18) การกำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูลและน้ำเสีย(19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล”พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 50 “ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาลดังต่อไปนี้ (3) รักษาความสะอาดของถนน หรือทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล (4) ป้องกันและระงับโรคติดต่อ” เป็นต้น เทศบาลตำบลหารเทามีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 52 ตารางกิโลเมตร ประชากรทั้งสิ้น 9,980 คน เฉลี่ย 192 คนต่อตารางกิโลเมตร และมีครัวเรือนทั้งสิ้น 3,351 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ วันที่ 3 ตุลาคม 2560)ในปี พ.ศ.2559ประชากรของเทศบาลตำบลหารเทาป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน48ราย โรคท้องร่วงจำนวน367 ราย และโรคมือ เท้า ปาก จำนวน 11 รายซึ่งการเกิดโรคดังกล่าวมีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการจัดการขยะมูลฝอย และสิ่งปฏิกูลไม่ถูกสุขลักษณะ การจัดเก็บไม่ถูกวิธี ดังนั้นเทศบาลตำบลหารเทา จึงได้จัดทำโครงการธนาคารขยะเพื่อควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลหารเทาเพื่อควบคุมและป้องกันการเกิดโรคติดต่อ ลดอัตราการเจ็บป่วยของประชาชนและเป็นการสนับสนุนให้มีการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่บ้านเรือน สถานศึกษา สถานประกอบการ และสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตั้งแต่ระดับเยาวชนและประชาชนทั่วไปเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อควบคุมและป้องกันโรคติดต่อในเขตเทศบาลตำบลหารเทา
  2. 2.เพื่อสนับสนุนให้มีการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่บ้านเรือน สถานศึกษา สถานประกอบการในเขตเทศบาลตำบลหารเทาลดโอกาสการเกิดโรคติดต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการขยะและจัดทำแผนปฏิบัติการกำจัดขยะเทศบาลตำบลหารเทา
  2. 2.ประชาสัมพันธ์และสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ
  3. ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ความรู้การคัดแยกขยะ
  4. 3.จัดตั้งธนาคารขยะเทศบาลตำบลหารเทา
  5. ติดตามผลการดำเนินงานและเสริมความรู้ให้กับชุมชนและสถานศึกษา (11 ชุมชน 5 โรงเรียน 6 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชากรของเทศบาลตำบลหารเทาป่วยด้วยโรคติดต่อลดลง
  2. มีการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่บ้านเรือน สถานศึกษา สถานประกอบการในเขตเทศบาลตำบลหารเทา

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อควบคุมและป้องกันโรคติดต่อในเขตเทศบาลตำบลหารเทา
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคท้องร่วง และโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออกลดลง
0.00

 

2 2.เพื่อสนับสนุนให้มีการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่บ้านเรือน สถานศึกษา สถานประกอบการในเขตเทศบาลตำบลหารเทาลดโอกาสการเกิดโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด : 1.มีจุดเก็บรวมรวมขยะอันตรายในชุมชน ชุมชนละ 1 แห่ง 2.มีการจัดตั้งธนาคารขยะเทศบาลตำบลหารเทา 1 แห่ง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อควบคุมและป้องกันโรคติดต่อในเขตเทศบาลตำบลหารเทา (2) 2.เพื่อสนับสนุนให้มีการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่บ้านเรือน สถานศึกษา สถานประกอบการในเขตเทศบาลตำบลหารเทาลดโอกาสการเกิดโรคติดต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการขยะและจัดทำแผนปฏิบัติการกำจัดขยะเทศบาลตำบลหารเทา (2) 2.ประชาสัมพันธ์และสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ (3) ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ความรู้การคัดแยกขยะ (4) 3.จัดตั้งธนาคารขยะเทศบาลตำบลหารเทา (5) ติดตามผลการดำเนินงานและเสริมความรู้ให้กับชุมชนและสถานศึกษา (11 ชุมชน 5 โรงเรียน 6 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการธนาคารขยะเพื่อควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลหารเทา จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3339-02-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เทศบาลตำบลหารเทา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด