กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเป้า


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเด็กน้อยฟันสวยด้วยสองมือ ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลบางเป้า อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวธนพร ฉีดเนียม

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเด็กน้อยฟันสวยด้วยสองมือ ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลบางเป้า อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1468-1-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 สิงหาคม 2561 ถึง 30 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเด็กน้อยฟันสวยด้วยสองมือ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเป้า อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเป้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเด็กน้อยฟันสวยด้วยสองมือ ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเด็กน้อยฟันสวยด้วยสองมือ ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเป้า อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1468-1-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 สิงหาคม 2561 - 30 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,470.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเป้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านทันตสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญที่พบมากในนักเรียนประถมศึกษาเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆที่ตรวจพบในกลุ่มเดียวกัน และปัญหาด้านทันตสุขภาพนั้นนอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพช่องปาก ของเด็กแล้ว ยังมีผลกระทบต่อการเรียนและพัฒนาการของเด็กด้วย นักเรียนประถมศึกษาอยู่ในช่วงอายุ 6-12ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นใหม่ ลักษณะรูปร่างฟันจะมีหลุมร่องลึกทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่าย ทำให้นักเรียนบางส่วนต้องสูญเสียฟันไปก่อนกำหนดและเกิดปัญหาฟันซ้อนเกตามมาซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากเด็กมีอุปนิสัยชอบรับประทานขนมขบเคี้ยว น้ำอัดลม ลูกกวาดและอาหารหวานเป็นประจำ ตลอดจนมีข้อจำกัดในเรื่องความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองล้วนเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคในช่องปากได้ง่าย หากไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ที่ดีพอโรคในช่องปากเป็นโรคที่สามารถป้องกันและสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควรเริ่มต้นส่งเสริมตั้งแต่วัยเด็ก ฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดี ปลูกฝังให้เด็กรักการแปรงฟันและปฏิบัติได้อย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะแรกของการเป็นโรคจะช่วยป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากของเด็กได้ จากข้อมูลการตรวจสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียนประถมศึกษาในโรงเรียนของพื้นที่ที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเป้า อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ปี2560 นักเรียนทั้งหมดจำนวน 92 คน พบว่า นักเรียนที่มีปัญหาฟันแท้ผุจำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 23.91 เหงือกอักเสบจำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 17.39 และจากการเก็บรวบรวมข้อมูล พบว่า สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากโรงเรียนยังขาดการส่งเสริมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันและการดำเนินงานทันตสุขภาพในโรงเรียนยังขาดความต่อเนื่องสม่ำเสมอ และเป็นระบบที่ชัดเจนจากครู ผู้นำนักเรียนรวมไปถึงผู้ปกครอง ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเป้า อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบติการเด็กน้อยฟันสวยด้วยสองมือปีงบประมาณ ๒๕๖1 เพื่อให้แกนนำนักเรียนและครูอนามัยมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและมีการดำเนินงาน ทันตสุขภาพในโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้วามรู้เรื่องหน้าที่และองค์ประกอบของฟัน โรคฟันผุ โรคเหงือกและโรคปริทันต์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 62
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้นและปัญหาฟันผุลดลง
  2. นักเรียนเปลี่ยนแปลงทัศนคติและมีพฤติกรรมทางทันตสุขภาพดีขึ้น
  3. โรงเรียนมีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันอย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้วามรู้เรื่องหน้าที่และองค์ประกอบของฟัน โรคฟันผุ โรคเหงือกและโรคปริทันต์

วันที่ 30 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำโครงการและเสนอโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ 2.ประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการกับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง 3.จัดเตรียมเอกสาร ประสานงานและเตรียมความพร้อมก่อนการอบรม 4.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ 4.1 ให้ความรู้เรื่องหน้าที่และองค์ประกอบของฟัน โรคฟันผุ โรคเหงือกและโรคปริทันต์ อาหารที่มีประโยชน์และโทษต่อฟัน การแปรงฟันที่ถูกวิธี 4.2 ฝึกทักษะการแปรงฟัน การย้อมสีฟันและการตรวจฟันที่ถูกต้อง 5.ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้นและปัญหาฟันผุลดลง 2.นักเรียนเปลี่ยนแปลงทัศนคติและมีพฤติกรรมทางทันตสุขภาพดีขึ้น 3.โรงเรียนมีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันอย่างต่อเนื่อง

 

62 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 62
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 62
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้วามรู้เรื่องหน้าที่และองค์ประกอบของฟัน โรคฟันผุ โรคเหงือกและโรคปริทันต์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเด็กน้อยฟันสวยด้วยสองมือ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1468-1-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวธนพร ฉีดเนียม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด