กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ตำบลคลองขุด ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอำภรณ์ หวันยาวา

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ตำบลคลองขุด

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5300-2-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ตำบลคลองขุด จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ตำบลคลองขุด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ตำบลคลองขุด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5300-2-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,630.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกกำลังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยเนื่องจากสถานการณ์ของโรคพบแนวโน้มสูงขึ้น แม้จะมีการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปีงบประมาณ 2535 จนถึงปัจจุบัน
การป้องกันโรคไข้เลือดออกในทุกพื้นที่ก็คือการช่วยกันลดจำนวนยุงลายให้เหลือน้อยที่สุด โดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่มักอาศัยในภาชนะที่มีน้ำท่วมขัง และหากมีรายงานผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ดำเนินการสอบสวนโรคและควบคุมโรคภายใน ๒๔ ชั่วโมง เพื่อไม่ให้โรคแพร่ระบาด และพ่นสารเคมีรอบบ้านผู้ป่วยรัศมีอย่างน้อย ๑๐๐ เมตร เพื่อตัดวงจรการแพร่ระบาดของโรค
กลุ่มอาสาพัฒนาสาธารณสุข หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ตำบลคลองขุด ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ตำบลคลองขุด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61 ขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันต่างๆ โรงเรียน รวมทั้งประชาชนโดยทั่วไป ได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการลดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคเลือดออกในชุมชน ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  2. เพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเตรียมความพร้อมอาสาพัฒนาสาธารณสุข หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ตำบลคลองขุด จำนวน 30 คน
  2. รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและใส่ทรายทีมีฟอส สำรวจค่า HI,CI ในหมู่บ้าน
  3. รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและใส่ทรายทีมีฟอส สำรวจค่า HI,CI ในหมู่บ้าน
  4. รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและใส่ทรายทีมีฟอส สำรวจค่า HI,CI ในหมู่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต - ประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ได้รับการกระตุ้นให้มีการตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก จำนวน 1,200 หลังคาเรือน ผลลัพธ์ ๑. อัตราป่วยและอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
2. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) อยู่ในเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคกำหนดไว้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเตรียมความพร้อมอาสาพัฒนาสาธารณสุข หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ตำบลคลองขุด จำนวน 30 คน

วันที่ 15 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเตรียมความพร้อมอาสาพัฒนาสาธารณสุข หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ  ตำบลคลองขุด จำนวน 30  คน 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต - ประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ได้รับการกระตุ้นให้มีการตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก จำนวน 1,200 หลังคาเรือน ผลลัพธ์ ๑. อัตราป่วยและอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
2. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) อยู่ในเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคกำหนดไว้

 

30 0

2. รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและใส่ทรายทีมีฟอส สำรวจค่า HI,CI ในหมู่บ้าน

วันที่ 23 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สนับสนุนการดำเนินโครงการ 2.รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและใส่ทรายทีมีฟอส สำรวจค่า HI,CI ในหมู่บ้านชุมชนบ้านกลาง หมู่ที่ 7 ตำบลคลองขุด (ซอยทรายทอง, ซอยพัฒนาการศึกษา, ซอยน้องทราย) 3.ติดป้ายรณรงค์ฯ ชุมชนบ้านกลาง หมู่ที่ 7 ตำบลคลองขุด (ซอยทรายทอง, ซอยพัฒนาการศึกษา, ซอยน้องทราย)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต - ประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ได้รับการกระตุ้นให้มีการตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก จำนวน 1,200 หลังคาเรือน ผลลัพธ์ ๑. อัตราป่วยและอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
2. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) อยู่ในเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคกำหนดไว้

 

30 0

3. รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและใส่ทรายทีมีฟอส สำรวจค่า HI,CI ในชุมชน

วันที่ 30 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สนับสนุนการดำเนินโครงการ 2.รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและใส่ทรายทีมีฟอส สำรวจค่า HI,CI ในชุมชนบ้านใต้ หมู่ที่ 7 ตำบลคลองขุด (ซอยร่วมวารินทร์, ซอยรอยัลเกตเฮ้าส์, ซอยผลทวี) 3.ติดป้ายรณรงค์ฯ ชุมชนบ้านใต้ หมู่ที่ 7 ตำบลคลองขุด (ซอยร่วมวารินทร์, ซอยรอยัลเกตเฮ้าส์, ซอยผลทวี)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต - ประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ได้รับการกระตุ้นให้มีการตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก จำนวน 1,200 หลังคาเรือน ผลลัพธ์ ๑. อัตราป่วยและอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
2. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) อยู่ในเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคกำหนดไว้

 

30 0

4. รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและใส่ทรายทีมีฟอส สำรวจค่า HI,CI ในชุมชน

วันที่ 8 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สนับสนุนการดำเนินโครงการ 2.รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและใส่ทรายทีมีฟอส สำรวจค่า HI,CI ในชุมชนบ้านเหนือ หมู่ที่ 7 ตำบลคลองขุด (ซอยประชาสรรค์, ซอยชินวัฒน์, ซอยเยาวราช) 3.ติดป้ายรณรงค์ฯ ในชุมชนบ้านเหนือ หมู่ที่ 7 ตำบลคลองขุด (ซอยประชาสรรค์, ซอยชินวัฒน์, ซอยเยาวราช)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต - ประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ได้รับการกระตุ้นให้มีการตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก จำนวน 1,200 หลังคาเรือน ผลลัพธ์ ๑. อัตราป่วยและอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
2. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) อยู่ในเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคกำหนดไว้

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงหรือไม่มีผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก
10.00

 

2 เพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : -ในโรงเรียน ลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกโรงเรียนให้ครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕ โดยในโรงเรียนไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย (CI=O) -ในชุมชน ลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกครัวเรือนให้ครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ โดยให้มี จำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายไม่เกินร้อยละ ๑๐ (ค่า HI ไม่เกิน ๑๐)
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเตรียมความพร้อมอาสาพัฒนาสาธารณสุข หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ  ตำบลคลองขุด จำนวน 30  คน  (2) รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและใส่ทรายทีมีฟอส สำรวจค่า HI,CI ในหมู่บ้าน (3) รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและใส่ทรายทีมีฟอส สำรวจค่า HI,CI ในหมู่บ้าน (4) รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและใส่ทรายทีมีฟอส สำรวจค่า HI,CI ในหมู่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ตำบลคลองขุด จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5300-2-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอำภรณ์ หวันยาวา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด