กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา


“ โครงการอบรมจิตอาสานวดแผนไทยเพื่อส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางจินดาพร แซ่เฉีย

ชื่อโครงการ โครงการอบรมจิตอาสานวดแผนไทยเพื่อส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7252-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมจิตอาสานวดแผนไทยเพื่อส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมจิตอาสานวดแผนไทยเพื่อส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมจิตอาสานวดแผนไทยเพื่อส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7252-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 171,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย เป็นการดูแลสุขภาพในชุมชนแบบดั้งเดิมที่อยู่คู่กับประเทศไทยมานาน ซึ่งในปัจจุบันก็ยังเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนคู่กับการแพทย์แผนปัจจุบัน โดยการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ดูแลตนเอง คนในครัวเรือง รวมถึงคนในชุมชนและสังคม ซึ่งมีความแตกต่างกันไปตามวิถีชีชิตของประชาชนในแต่ละท้องถิ่น ซึ่งในเขตเทศบาลเมืองสะเดาคนในชุมชนที่มีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการนวดแผนไทยยังมีจำนวนน้อย ทำให้คนในชุมชนที่ได้รับประโยชน์ จากการใช้ภูมิปัญญาจากการนวดแผนไทยเพื่อดูแลสุขภาพตนเองและคนในชุมชนยังมีจำนวนน้อยกว่าที่ควรจะเป็น นอกจากจะเป็นการ อนุรักษ์ ฟื้นฟูภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านไทยไว้ เพื่อเป็นมรดกต่อลูกหลานในการสือบทอดองค์ความรู้การนวดแผนไทยและความรู้เรื่องสมุนไพร ศูนย์บริการเทศบาลเมืองสะเดาได้นำแนวคิดในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมด้วยการผสมผสานการดูแลสุขภาพแบบดั้งเดิมที่สดดคล้องกับวิถีชีวิตคนในชุมชนร่วมกับการรักษาด้วยแพทย์แผนปัจจุบัน ส่งเสริมให้คนในชุมชนได้รับความรู้เรื่องการนวดแผนไทยที่ถูกต้องปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างแกนนำชุมชนมีความรู้ความสามารถด้านการนวดแผนไทยและเกิดทักษะด้านการนวดแผนไทยสามารถนำไปใช้ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสุขภาพเบื้องต้นให้กับตนเอง ครอบครัวและคนในชุมชนได้
  2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชนในการบริหารจัดการด้านการดูแลสุขภาพให้คนในชุมชนมีการพึ่งพาตนเอง
  3. ผู้ที่ผ่านการอบรมเข้าร่วมกลุ่มจิตอาสาเพื่อดูแลผู้สูงอายุและเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองสะเดาได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการอบรมจิตอาสานวดแผนไทยเพื่อส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชน พ.ศ.2561

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 45
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เกิดเครือข่ายและปฏิญญาความร่วมมือ ด้านการแพทย์แผนไทยระดับจังหวัด และชุมชนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมและแนวทางส่งเสริมการใช้ประโยชน์ จากภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรในระดับชุมชน 2 ประชาชนมีความรู้และมีแนวคิดในการพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรให้เกิดการขับเคลื่นอย่างต่อเนื่อง 3 ประชาชนนำการแพทย์แผนไทยและสมุนไพไปประยุกต์ใช้เป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการอบรมจิตอาสานวดแผนไทยเพื่อส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชน พ.ศ.2561

วันที่ 8 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรม สร้างทักษะ และฝึกปฏิบัติจริงในการนวดแผนไทย
2.สร้างแกนนำชุมชนทางด้านนวดแผนไทย 3.เป็นจิตอาสานวดแผนไทยเพื่อให้บริการนวดแผนไทย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยเปอร์เซ็นของกลุ่มเป้าหมาย 2.ผู้เข้าอบรมผ่านการทดสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติได้รับใบประกาศนวดแผนไทยเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 150 ชั่วโมง จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยเปอร์เซ็นของกลุ่มเป้าหมาย 3.ผู้เข้าอบรมสมัครเป็นจิตอาสาเพื่อดูแลผู้สูงอายุ และคนในชุมชนจำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยเปอร์เซ็นของกลุ่มเป้าหมาย 4.ผู้เข้าอบรมเป็ฯจิตอาสานวดแผนไทยเพื่อส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชนโดยทำกิจกรรมให้บริการนวดแผนไทย ดังต่อไปนี้ 4.1ให้บริการกับผู้สูงอายุที่มาร่วมกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ จำนวน 80 รายฃ 4.2ให้บริการกับผู้ที่มารับบริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุข 40 ราย 4.3ให้บริการคนในชุมชน จำนวน 225 ราย

 

45 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างแกนนำชุมชนมีความรู้ความสามารถด้านการนวดแผนไทยและเกิดทักษะด้านการนวดแผนไทยสามารถนำไปใช้ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสุขภาพเบื้องต้นให้กับตนเอง ครอบครัวและคนในชุมชนได้
ตัวชี้วัด : แกนนำชุมชนมีความรู้ความสามารถด้านการนวดแผนไทยและเกิดทักษะด้านการนวดแผนไทยสามารถนำไปใช้ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสุขภาพเบื้องต้นให้กับตนเอง ครอบครัวและคนในชุมชนได้
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชนในการบริหารจัดการด้านการดูแลสุขภาพให้คนในชุมชนมีการพึ่งพาตนเอง
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีศักยภาพในการบริหารจัดการด้านการดูแลสุขภาพให้คนในชุมชนมีการพึ่งพาตนเอง
0.00

 

3 ผู้ที่ผ่านการอบรมเข้าร่วมกลุ่มจิตอาสาเพื่อดูแลผู้สูงอายุและเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองสะเดาได้
ตัวชี้วัด : มีกลุ่มจิตอาสาเพื่อดูแลผู้สูงอายุและเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองสะเดา
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 45 45
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำชุมชนมีความรู้ความสามารถด้านการนวดแผนไทยและเกิดทักษะด้านการนวดแผนไทยสามารถนำไปใช้ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสุขภาพเบื้องต้นให้กับตนเอง ครอบครัวและคนในชุมชนได้ (2) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชนในการบริหารจัดการด้านการดูแลสุขภาพให้คนในชุมชนมีการพึ่งพาตนเอง (3) ผู้ที่ผ่านการอบรมเข้าร่วมกลุ่มจิตอาสาเพื่อดูแลผู้สูงอายุและเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองสะเดาได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการอบรมจิตอาสานวดแผนไทยเพื่อส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชน พ.ศ.2561

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมจิตอาสานวดแผนไทยเพื่อส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7252-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจินดาพร แซ่เฉีย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด