แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
ประเมินมาตรฐานร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารตามเกณฑ์กรมอนามัยและเก็บตัวอย่างน้ำมันทอดซ้ำ จำนวน 25 ราย | 1 ต.ค. 2560 | 26 เม.ย. 2561 |
|
1.เชิญชวนผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารให้ดำเนินการพัฒนาสถานประกอบการร้านอาหารให้ได้มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร (ผ่านเกณฑ์ Clean Food Good Taste) สำหรับร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารที่มีการเปิดกิจการใหม่เปิดรับสมัครเพื่อเข้าร่วม CFGT 2. เจ้าหร้าที่สาธาณสุข และ อสม.ผู้รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภค ดำเนินการออกประเมินมาตรฐานร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารตามเกณฑ์กรมอนามัยและเก็บตัวอย่างน้ำมันทอดซ้ำ เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันอันตรายจากสารโพลาร์ที่เจือปนอยู่ในน้ำมันทอดซ้ำ 3. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขดำเนินการตรวจสอบความสะอาดปราศจากเชื้อแบคทีเรียของร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร โดยใช้ชุดตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรีย SL-2 ทุกๆ 2 เดือน และตรวจหาสารฟอร์มมาลิน,บอแรกซ์,สารฟอกขาว,และสารกันรา |
|
จากการลงดำเนินการตรวจมาตรฐาน - ร้านนืณีการ์เดน แอนด์ รีสอร์ท ผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้านอาหารทั้งหมด 15 ข้อ - ร้านข้าวแกงชลดา ผ่านเกณฑ์การประเมิน 12 ข้อ - ร้านก๋วยเตี๋ยวหลวงจุก ผ่านเกณฑ์การประเมิน 12 ข้อ - ร้านครัวควนซาง อาหารตามสั่ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน 12 ข้อ - ร้านครัวต้นไทร ผ่านเกณฑ์การประเมิน 12 ข้อ |
|
รณรงค์ให้ความรู้เพื่อกระตุ้นให้ผู้บริโภคตระหนักถึงความปลอดภัยในการบริโภคอาหาร | 1 ต.ค. 2560 | 17 เม.ย. 2561 |
|
รณรงค์ให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนผ่านช่องทางสื่อต่างๆในพื้นที่ เพื่อกระตุ้นให้ผู้บริโภคตระหนักถึงความปลอดภัยในการบริโภคอาหาร และอันตรายจากการบริโภคอาหารที่ใช้น้ำมันทอดซ้ำโดยใช้วิธีประชาสัมพันธ์ในเวทีการประชุมประจำเดือนของแต่ละหมู่บ้าน มีการใช้ป้ายไวนิลรณรงค์ตามแหล่งชุมชน |
|
รณรงค์ให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนผ่านช่องทางสื่อต่างๆในพื้นที่ เพื่อกระตุ้นให้ผู้บริโภคตระหนักถึงความปลอดภัยในการบริโภคอาหาร และอันตรายจากการบริโภคอาหารที่ใช้น้ำมันทอดซ้ำโดยใช้วิธีประชาสัมพันธ์ในเวทีการประชุมประจำเดือนของแต่ละหมู่บ้าน มีการใช้ป้ายไวนิลรณรงค์ตามแหล่งชุมชน |
|
สุ่มตรวจร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารที่เข้าร่วมโครงการ | 1 ต.ค. 2560 | 17 ก.ค. 2561 |
|
สุ่มตรวจร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารที่เข้าร่วมโครงการ โดยใช้ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ เดือนละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 3 เดือนติดต่อกันและมีกิจกรรมเพิ่มเติม ได้แก่ |
|
ร้านค้า ร้านอาหาร และแผงลอย จำหน่ายอาหารทอดในชุมชนตรวจพบมีปริมาณสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซำ้ ไม่เกินร้อยละ 25 ของน้ำหนัก คิดเป็นร้อยละ 85.71 |
|
จัดประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนและชี้แจงโครงการ | 28 ก.พ. 2561 | 28 ก.พ. 2561 |
|
|
|
มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 20 คน เข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ และเป้าหมายของโครงการ |
|
อบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการร้านค้า ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก | 29 มี.ค. 2561 | 29 มี.ค. 2561 |
|
สำรวจข้อมูลร้านอาหารแผงลอยจำหน่ายอาหาร และร้านค้าแผงลอยที่มีการจำหน่ายอาหารประเภททอดในชุมชน 2. จัดทำโครงการเสนอผู้บังคับบัญชาเพื่อขออนุมัติโครงการ 3. ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนและชี้แจงรายละเอียดของโครงการ 4. เชิญผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ร้านค้า/แผงลอยที่มีการจำหน่ายอาหารประเภททอดในชุมชนในเขตพื้นที่ตำบลหนองบัวรวมไปถึงผู้บริโภคและ อสม.ผู้รับผิดชอบคุ้มครองผู้บริโภคเข้าร่วมอบรมรับความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารและการพัฒนาสถานประกอบการอาหารให้ด้านคุณภาพมาตรฐานผ่านเกณฑ์ของกรมอนามัยพร้อมรับทราบถึงแนวทางในการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการ 5. เชิญชวนผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารให้ดำเนินการพัฒนาสถานประกอบการร้านอาหารให้ได้มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร (ผ่านเกณฑ์ Clean Food Good Taste) สำหรับร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารที่มีการเปิดกิจการใหม่เปิดรับสมัครเพื่อเข้าร่วม CFGT |
|
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 แห่ง คือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบัว ผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงอาหารและสถานที่ปรุงอาหารได้มาตรฐาน - ร้านอาหาร 1 ร้าน แผงลอยจำหน่ายอาหารทั้งหมด 5 แผง เข้าร่วมดำเนินการพัฒนาสถานประกอบการร้านอาหารให้ได้มาตรฐานสุขาภิบาล - แผงลอยจำหน่ายอาหาร ประเภททอดในชุมชนทั้งหมด 15 แผงลอย เข้าร่วมโครงการเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันอันตรายจากสารโพลาร์ที่เจือปนอยู่ในน้ำมันทอดซ้ำ |
|