กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในประชากรกลุ่มเสี่ยงบุหรี่
รหัสโครงการ L76621804018
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ บ้านศิวาลัย
วันที่อนุมัติ 30 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 8 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 1 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 15,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสุเธียร สีหะวงษ์ นางทองมี สุภาพ และ อสม.บ้านศิวาลัย หมู่ที่ 5
พี่เลี้ยงโครงการ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลขุนหาญ
พื้นที่ดำเนินการ บ้านศิวาลัย หมู่ที่ 5 ตำบลขุนหาญ อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ
ละติจูด-ลองจิจูด 14.635,104.371place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 30 มี.ค. 2561 21 ส.ค. 2561 30 มี.ค. 2561 21 ส.ค. 2561 15,400.00
รวมงบประมาณ 15,400.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือนของประชาชนในชุมชน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ
5.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นพบว่ามีอัตราเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เกิดจากวัยรุ่นมีความเชื่อที่ผิดเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ขาดความตระหนักในพิษภัยของบุหรี่อีกทั้งวัยรุ่นเป็นวัยแห่งการเรียนรู้ด้วยตนเอง อยากรู้อยากลอง ต้องการเรียนรู้ในกลุ่มเพื่อนสนิท อีกทั้งยังต้องการเป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อนพฤติกรรมเบี่ยงเบนและพฤติกรรมเสี่ยงทั้งหลายจึงจะทำตามการตัดสินใจของกลุ่ม หากทางเลือกที่กลุ่มเสนอนั้นไม่เหมาะสมกับตนและตนสามารถที่จะคิดหาทางเลือกที่เหมาะสมกับตนเองได้โดยอาศัยทักษะการสื่อสารเพื่อปฏิเสธคัดค้าน เจรจาต่อรอง โดยเสนอทางเลือกใหม่ที่ดีกว่าจะเป็นทักษะที่มีประโยชน์อย่างยิ่งในเชิงยับยั้งพฤติกรรมเสี่ยงได้ จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ(2550) พบว่าผู้สูบบุหรี่มีการเริ่มสูบมากที่สุดในช่วงอายุ15 – 19 ปีซึ่งถือว่ายังอยู่ในระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายถึงมหาวิทยาลัย การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุของการสูญเสียชีวิตและทุพลภาพ ผู้สูบบุหรี่เป็นประจำจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปอดมากกว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ถึง 12 เท่า และหากสูบบุหรี่ต่อกันนานเกิน21 – 41 ปีจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งปอดมากกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ 30 เท่า และปัจจุบันนี้พบว่ามะเร็งปอดเป็นมะเร็งอันดับหนึ่งของชายไทย ดังนั้นผู้ที่สูบบุหรี่จัดโดยเริ่มสูบตั้งแต่อายุยังน้อยและสูบติดต่อกันเป็นระยะเวลานานๆ จึงมีโอกาสเป็นมะเร็งปอดสูงมากและยังทำให้ผู้ที่ไม่สูบบุหรี่แต่ได้รับควันจากบุหรี่มีโอกาสเป็นมะเร็งปอด

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มอัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือนของประชาชนในชุมชน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ

อัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือนโดยไม่กลับไปสูบซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(ร้อยละ)

5.00 3.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 15.00 2 15,400.00
30 เม.ย. 61 จัดอบรมให้ความรู้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง 0 13.00 13,000.00
30 เม.ย. 61 จัดกิจกรรมออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง 0 2.00 2,400.00

จัดอบรมให้ความรู้ สร้างพลังบวกโดยการให้พูดคุยแลกเปลี่ยนระหว่างเพื่อที่เข้าร่มประชุม แนะนำสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนที่สามารถนำมาใช้ลดการสูบบุหรี่ได้ แนะนำคลีนิคอดบุหรี่ของ รพ.ขุนหาญเพื่อเพิ่มช่องทางการเข้าถึงสะดวก และพาทำกิจกรรมออกกำลังกายเพื่อลดการมีเวลามากเกินไป ลดความหมกมุ่น และส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงโทษภัยบุหรี่ และปรับพฤติกรรมลด เลิกบุหรี่ในกลุ่มที่ติดแล้ว และผู้ที่เข้ารับการอบรมกลุ่มเสี่ยงไม่เป็นผู้สูบบุหรี่รายใหม่

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 มี.ค. 2561 13:33 น.