กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้การบริหารจัดการขยะในชุมชนตำบลท่ากำชำ
รหัสโครงการ 61-L3066-02-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ประธานอาสาสมัครสาธารณสุข ม.7
วันที่อนุมัติ 21 ธันวาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 13 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 มีนาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 29 มิถุนายน 2561
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางปาตีเมาะ นาแว
พี่เลี้ยงโครงการ นายนาเซร์ หวังจิ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.826,101.072place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.พ. 2561 28 ก.พ. 2560 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (30,000.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 120 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลา และยังไม่สามารถหาทางออกที่ดีได้ ของเสียอันตรายจากบ้านเรือนเป็นปัญหาสำคัญครัวเรือนเป็นแหล่งกำเนิดของของเสียอันตรายจากชุมชนประมาณ 1 ใน 4 ของทั้งหมด ซึ่งจากปัญหาขยะดังกล่าวส่งผลส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพมากขึ้นเช่นกัน โรคภัยทีเกิดจากขยะมูลฝอยได้แก่ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคจากสัตว์แมลง โรคจากการติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ โรคปวดศรีษะคลื่นไส้ และอาเจียนเกิดจากกลิ่นเน่า และผลกระทบต่อระบบต่างๆ ภายในร่างกาย พื้นที่ตำบลท่ากำชำเป็นพื้นที่อุบัติการณ์จากโรคที่เกิดจากขยะมูลฝอย โดยเฉพาะกระบวนการระบาดของไข้เลือดออก เป็นอันดับสองของอำเภอหนองจิก จากข้อมูล 3 ปี ที่ผ่านมาที่ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ดังนี้คือ ปี พ.ศ.2558 จำนวน 5 ราย ปี พ.ศ.2559 จำนวน 7 ราย ปี พ.ศ.2560 จำนวน 8 ราย ดังนั้นเพื่อป้องกันไม่ให้ประชาชนในนั้นมี เกิดโรคจากขยะมูลฝอย จึงต้องมีการจัดการจัดการแหล่งขยะที่ถูกสุขลักษณะเพื่อการป้องกันโรค โดยการสร้างความเข้าใจ ความตระหนักของประชาชน ภายใต้ความร่วมมือของชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันโรคภัยที่เกิดจากขยะได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อป้องกันโรคของประชาชนจากขยะมูลฝอย

 

0.00
2 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องกระบวนการจัดการขยะอย่างครบวงจร

 

0.00
3 3. เพื่อให้เกิดการจัดการขยะและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อป้องกันโรคของประชาชนจากขยะมูลฝอย

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องกระบวนการจัดการขยะอย่างครบวงจร

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : 3. เพื่อให้เกิดการจัดการขยะและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

13 ก.พ. 61 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง การจัดการขยะ 2.ค่าจ้างทำตะแกรงใส่ขยะรีไซเคิล 30,000.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. ประชาสัมพันธ์โครงการและประสานนงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  2. จัดอบรมและให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะในชุมชน
  3. จัดจ้างตะแกรงใส่ขยะรีไซเคิลเป็นตัวอย่าง 2 ชุด
  4. กิจกรรมทำความสะอาดศาสนสถาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อัตราผู้ป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี
  2. ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมให้เป็นและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 มี.ค. 2561 09:50 น.