กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ


“ โครงการดูแลผู้พิการ สายใยครอบครัว ”

ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายแวมะการิ กูโนะ

ชื่อโครงการ โครงการดูแลผู้พิการ สายใยครอบครัว

ที่อยู่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3066-03-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มิถุนายน 2561 ถึง 20 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลผู้พิการ สายใยครอบครัว จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้พิการ สายใยครอบครัว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลผู้พิการ สายใยครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3066-03-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มิถุนายน 2561 - 20 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนี้ ปัญหาด้านเศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะวิกฤติ ทำให้มีผลกระทบต่อบุคคลทั่วไปรวมทั้งคนพิการที่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ จึงเป็นภาวะต่อครอบครัวที่ต้องดูแลด้านต่างๆ ให้กับคนพิการ ส่วนหนึ่งผู้ดูแลผู้พิการยังขาดความรู้เข้าใจในการดูแลสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ทำให้ผู้พิการบางคนมีความรู้สึกท้อแท้ เหนื่อยหน่ายต่อชีวิต ขาดกำลังใจในการดำรงชีวิต บางคนถึงกับไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไป ความพิการ เป็นสถานะทางสุขภาพอย่างหนึ่ง ซึ่งแสดงออกมาในลักษณะของการสูญเสียความสามารถในการทำกิจกรรมต่างๆ ในการดำรง ชีวิตในสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากปัญหาสุขภาพอื่นๆ เช่น การเจ็บป่วย การได้รับการบาดเจ็บในกระบวนฟื้นฟูสมรรถภาพ อาจประกอบด้วยการใช้วิธีต่างๆ ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ เศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการจัดหาและการให้บริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และบริการที่สนับสนุนการดำรงชีวิต การเสริมสร้างสมรรถภาพหรือการเสริมสร้างความสามารถของคนพิการ แต่ในทางปฏิบัติผู้พิการยังมีไม่ได้รับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและยังไม่ได้รับการฟื้นฟูทุกด้านอย่างจริงจังจากภาครัฐและสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลท่ากำชำ มีประชากรประมาณ 7,421 คน มีผู้พิการทุกประเภท จำนวน 102 คน ในจำนวนนี้มีผู้พิการจากอุบัติเหตุ พิการแต่กำเนิด พิการจากสาเหตุอื่นๆ ที่ทำให้ไม่ สามารถเดินได้ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ต้องเป็นภาระกับครอบครัว ซึ่งทางเทศบาลตำบลหนองจิกได้ดำเนินการ สำรวจผู้พิการ ติดตามดูแลผู้พิการที่ไม่สามารถเข้ามารับการรักษาพยาบาลโดยการเยี่ยมบ้าน แต่ยังไม่สามารถแก้ปัญหาได้ครอบคลุมทุกด้าน ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกๆ ฝ่ายในการแก้ปัญหา โดยเฉพาะความร่วมมือจากครอบครัวและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการหรือญาติมีความรู้เรื่องการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการได้อย่างถูกวิธี
  2. 2. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการหรือญาติมีความรู้ในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน
  3. 3. เพื่อให้ผู้พิการมีความเชื่อมั่นในคุณค่าของตัวเอง
  4. 4. เพื่อเป็นการสร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้พิการในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้พิการ
  2. แผนการตรวจเยี่ยมผู้พิการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 102
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. การมีส่วนร่วมของผู้ดูแลผู้พิการในชุมชน และผู้พิการได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
  2. ผู้พิการในชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามความเหมาะสม
  3. เป็นการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดูแลผู้พิการและด้อยโอกาส

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้พิการ

วันที่ 19 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมปรึกษาหารือการจัดกิจกรรมในโครงการ
  2. จัดทำโครงการและเสนอขออนุมัติ
  3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ในการตรวจเยี่ยมผู้พิการ ทั้ง 7 ชุมชน
  4. ประสานงานและมอบหมายงานให้แก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
  5. ดำเนินงานตามกิจกรรมที่กำหนด
    • อบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้พิการ มีทีมสหวิชาชีพจาก รพ.สต.ท่ากำชำ สสอ.หนองจิก และ รพ.หนองจิก พร้อมให้สุขศึกษา ในวันที่ 19 มิถุนายน 2561 ณ องค์การบริหารส่วนตำบลท่ากำชำ
    • แผนการตรวจเยี่ยมผู้พิการ ระหว่างวันที่ 19 – 28 มิถุนายน 2561

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้ดูแลผู้พิการหรือญาติมีความรู้เรื่องการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการได้อย่างถูกวิธี
  • ผู้ดูแลผู้พิการหรือญาติมีความรู้ในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน

 

102 0

2. แผนการตรวจเยี่ยมผู้พิการ

วันที่ 12 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมปรึกษาหารือการจัดกิจกรรมในโครงการ
  2. จัดทำโครงการและเสนอขออนุมัติ
  3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการตรวจเยี่ยมผู้พิการ ทั้ง 7 ชุมชน
  4. ประสานงานและมอบหมายงานให้แก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
  5. ดำเนินงานตามกิจกรรมที่กำหนด     - อบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้พิการ มีทีมสหวิชาชีพจาก รพ.สต.ท่ากำชำ สสอ.หนองจิก และ รพ.หนองจิก พร้อมให้สุขศึกษา ในวันที่ 19 มิถุนายน 2561 ณ องค์การบริหารส่วนตำบลท่ากำชำ     - แผนการตรวจเยี่ยมผู้พิการ ระหว่างวันที่ 12 – 20  กรกฎาคม  2561

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เพื่อให้ผู้พิการมีความเชื่อมั่นในคุณค่าของตัวเอง
  2. เพื่อเป็นการสร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้พิการในพื้นที่

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลจากการอบรมทำให้ผู้ดูแลผู้พิการสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง และเจ้าหน้าที่ชมรมผู้สูงอายุ ผู้พิการลงเยี่ยมร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทำให้ผู้พิการมีกำลังใจในการที่จะดำรงชีวิตกับบุคคลทั่วไป และได้นำสิ่งที่จำเป็นที่ผู้พิการติดเตียงจำเป็นต้องใช้ เช่น ผ้าอ้อม นมผง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการหรือญาติมีความรู้เรื่องการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการได้อย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด :
100.00 70.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการหรือญาติมีความรู้ในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด :
100.00 80.00

 

3 3. เพื่อให้ผู้พิการมีความเชื่อมั่นในคุณค่าของตัวเอง
ตัวชี้วัด :
90.00 70.00

 

4 4. เพื่อเป็นการสร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้พิการในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
90.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 102
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 102
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการหรือญาติมีความรู้เรื่องการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการได้อย่างถูกวิธี (2) 2. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการหรือญาติมีความรู้ในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน (3) 3. เพื่อให้ผู้พิการมีความเชื่อมั่นในคุณค่าของตัวเอง (4) 4. เพื่อเป็นการสร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้พิการในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้พิการ (2) แผนการตรวจเยี่ยมผู้พิการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลผู้พิการ สายใยครอบครัว จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3066-03-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายแวมะการิ กูโนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด