กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม


“ โครงการสุขภาพดีเริ่มต้นที่นี้ ”

ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอายุ กาซา

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดีเริ่มต้นที่นี้

ที่อยู่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3027-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดีเริ่มต้นที่นี้ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดีเริ่มต้นที่นี้



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดีเริ่มต้นที่นี้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3027-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 86,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายพัฒนาด้านสุขภาพเพื่อประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตที่ดี เกิดความทั่วถึง เท่าเทียมของประชาชนทุกคน โดยให้ประชาชนได้รู้สถานะสุขภาพของตนเองเข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภายใต้นโยบาย สุขภาพดีเริ่มต้นที่นี่ (Good health start here) และกำหนดให้ดำเนินการพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยให้มีความครอบคลุมในมิติทางด้านสุขภาพทั้ง 4 มิติ คือ มิติด้านป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ เน้นให้เกิดการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ ซึ่งเกี่ยวข้องกับความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักด้านสุขภาพ จนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเคยชิน ให้เป็นพฤติกรรมลดเสี่ยงต่อการเกิดโรค และลดโรคที่เป็นแล้วให้เป็นน้อยลงหรือหายเป็นปกติ โดยเฉพาะการใช้กลวิธี 3 อ. 2 ส ซึ่งเป็นการปรับก่อนป่วยเพราะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีปัจจัยเสี่ยงร่วมกับสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิต การส่งเสริมสุขภาพจึงเน้นให้”ประชาชนสุขภาพดี เริ่มต้นที่สร้างนำซ่อม” การดำเนินโครงการ ได้มีแนวคิดการส่งเสริม สุขภาพ กลุ่มวัยทำงาน คือ อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม) ซึ่งถือว่าเป็นทรัพยากรบุคคลของประเทศที่ได้รับการพัฒนาจากหลักการและกลวิธีสาธารณสุขมูลฐาน โดยเน้นหลักการมีส่วนร่วม ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการและร่วมประเมินผล อสม. จะได้รับการสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ทักษะด้านสุขภาพ ในการดูแลตนเองเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดี และการขยายผล สู่การจัดกิจกรรมสร้างนำซ่อม ด้านการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ให้กับบุคคลประชาชนกลุ่มเสี่ยงอื่นๆในชุมชนได้ ภายใต้แนวคิด สร้างสุขภาพ รู้ตนลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม โดยนำกระบวนการ การจัดการสุขภาพระดับตำบลสู่การขับเคลื่อนระดับอำเภอ (District Health System)เพื่อให้เกิดระบบการทำงานด้านสุขภาพร่วมกันของทุกภาคส่วนด้วยการบูรณาการทรัพยากรภายใต้บริบทของพื้นที่ผ่านกระบวนการชื่นชม และการจัดการความรู้ ส่งเสริมให้เกิดอาสาสมัครสาธารณสุขต้นแบบ เพื่อการขยายผล เชื่อมโยงสู่นักจัดการสุขภาพประจำครอบครัว ที่ดูแลประชาชนและชุมชนได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพเพื่อเป้าหมายเพื่อสุขภาวะของประชาชนที่ดีอย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิด อสม.ต้นแบบและการขยายผลการส่งเสริมสุขภาพสู่กลุ่มเสี่ยงในชุมชน
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคภัยเงียบได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ. 2 ส.
  3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชน
  4. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้พัฒนาตนเองสามารถลดน้ำหนัก ลดรอบเอว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 144
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    เกิดการกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักในเรื่องสุขภาพ และเริ่มต้นทำกิจกรรมต่างๆ ที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรงและป้องกันโรคด้วยตนเอง เกิดต้นแบบที่ดี ที่สามารถถ่ายทอดการดูแลตนเองและขยายผลสู่ครอบครัว ชุมชน เกิดการปรับเปลี่ยนมุมมอง ในการทำงานการแนะนำให้ทำเพื่อให้เกิดสุขภาพดีและการมีสุขภาพดี เริ่มที่การทำกิจกรรมต่างๆ ที่จะช่วยให้มีสุขภาพดีด้วยตนเองภายใต้แนวคิด สุขภาพดีเริ่มต้นที่นี่


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    เป็นการตอยสนองความต้องการของ อสม. ในการตรวจสุขภาพเบื้องต้นทางด้านสุขภาพเพื่อลดอัตราการป่วยเพิ่มขึ้น และติดตามและให้ความรู้กับผู้ป่วยที่สามารถป้องกันและควบคุมได้ อสม.สามารถเป็นต้นแบบในการให้ความรู้เบื้องต้นในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการใช้พฤติกรรม ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี เพื่อรู้ตน ลดโรค ลดเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยเน้นกิจกรรม 3อ. ส่วนในตัวชี้วัดที่ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ คือ 3 และ 4 นั้น เนื่องจากอัตราผู้ป่วยมีจำนวนมากขึ้นเนื่องจาก ได้รับค่าส่งต่อจาก หน่วยงานนอกจังหวัดเรื่องสิทธิการรักษาทำให้มีอัตราการเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยความดันเบาหวาน และพฤติกรรมและความตระหนักของบุคคลกลุ่มผู้ป่วยที่ไม่สามารถลดรอบเอวได้ เนื่องจากกลุ่มเสี่ยงมีจำนวนมากขึ้นและไม่เน้นการออกกำลังกาย เพราะไม่มีที่ออกกำลังกายในชุมชน ทางชมรม อสม. เขาตูมจะค้นหาสาเหตุที่ชัดเจนและแนวทางในการแก้ปัญหาต่อไป

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เกิด อสม.ต้นแบบและการขยายผลการส่งเสริมสุขภาพสู่กลุ่มเสี่ยงในชุมชน
    ตัวชี้วัด : - เกิด อสม.ต้นแบบในแต่ละหมู่บ้าน อย่างน้อยหมู่บ้านละ 2 คน
    144.00

     

    2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคภัยเงียบได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ. 2 ส.
    ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 100 กลุ่มเสี่ยงโรคภัยเงียบได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    144.00

     

    3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชน
    ตัวชี้วัด : - พบผู้ป่วยรายใหม่ลดลงจากปีก่อนร้อยละ 2
    144.00

     

    4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้พัฒนาตนเองสามารถลดน้ำหนัก ลดรอบเอว
    ตัวชี้วัด : - กลุ่มเป้าหมายมีน้ำหนักลดจากเดิม 0.5-1 กก. ต่อเดือนจนอยู่ในเกณท์ปกติโดยคิดคำนวณจาก BMi - กลุ่มเป้าหมาย สมารถลดรอบเอว 0.5-1 ซม.ได้เอง 1 เดือน
    144.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 144
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 144
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิด อสม.ต้นแบบและการขยายผลการส่งเสริมสุขภาพสู่กลุ่มเสี่ยงในชุมชน (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงด้วยโรคภัยเงียบได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ. 2 ส. (3) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชน (4) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้พัฒนาตนเองสามารถลดน้ำหนัก ลดรอบเอว

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสุขภาพดีเริ่มต้นที่นี้ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 61-L3027-02-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอายุ กาซา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด