กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ชุมชนหัวกรวดร่วมใจ ป้องกันภัยบนท้องถนน
รหัสโครงการ L85911803009
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่4
วันที่อนุมัติ 23 มกราคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 12,760.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุภาพรรณ จินตนา
พี่เลี้ยงโครงการ เทศบาลตำบลท่าล้อ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าล้อ อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
ละติจูด-ลองจิจูด 13.987,99.589place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุรา , แผนงานสิ่งเสพติด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มี.ค. 2561 31 พ.ค. 2561 12,760.00
รวมงบประมาณ 12,760.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่(อายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป)ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
50.00
2 จำนวนการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนต่อปีอันเนื่องมาจากเมาแล้วขับ(ครั้ง)
5.00
3 จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน(คน)
20.00
4 จำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์(ร้าน)
20.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องจากสถิติการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการใช้ยานพาหนะบนท้องถนนของประชาชน มีอัตราเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งของอุบัติเหตุเกิดจากการขาดจิตสำนึกในการใช้รถใช้ถนนร่วมกัน และการขาดความรุ้เรื่องกฎระเบียบวินัยจราจร คณะกรรมการหมู่บ้าน เล็งเห็นถึงประโยชน์ของการให้ความรู้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป

อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

50.00 10.00
2 เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนต่อปีอันเนื่องมาจากเมาแล้วขับ

จำนวนการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนต่อปีอันเนื่องมาจากเมาแล้วขับลดลงเหลือ(ครั้ง)

5.00 2.00
3 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนเพิ่มขึ้น(คน)

20.00 30.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

จำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)

20.00 30.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 12,760.00 1 12,760.00
1 มี.ค. 61 - 31 พ.ค. 61 จัดกิจกรรมอบรม ให้ความรู้ กับกลุ่มเป้าหมาย 0 12,760.00 12,760.00

จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมาย

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนและผู้ใช้รถใช้ถนนได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎระเบียบวินัยจราจร รวมถึงการมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน อันจะมีส่วนช่วยบรรเทาปัญหาจราจร และช่วยลดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากผู้ใช้รถใช้ถนน 2.ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลและบำรุงรักษาเครื่องยนต์เบื้องต้น รวมถึงวิธีการขับขี่รถยนต์อย่างประหยัดพลังงานและคำนึงถึงสภาพแวดล้อม 3.ชุมชนเกิดภาพลักษณ์ที่ดีในด้านการมีส่วนร่วมช่วยสนับสนุนกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสังคม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 มี.ค. 2561 13:51 น.