กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่


“ โครงการสานสายใยรักคนพิการ ”

ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางรอมือละมามุ ประธานศูนย์พัฒนาครอบครัว ตำบลนาประดู่

ชื่อโครงการ โครงการสานสายใยรักคนพิการ

ที่อยู่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสานสายใยรักคนพิการ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสานสายใยรักคนพิการ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสานสายใยรักคนพิการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจพบว่า ครอบครัวและคนพิการ ผู้ดูแลคนพิการ ประชาชนในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลนาประดู่ มีปัญหาด้านสุขภาพและวิธีการในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวยังไม่ดีเท่าที่ควร ซึ่งปัญหาสุขภาพสำคัญของครอบครัวเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการอย่างยั่งยืน ได้แก่การเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆ เช่น โรคไข้หวัด ปวดศีรษะ ปวดขาโรคกระเพาะอาหาร ปัญหาโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อและปัญหาสุขภาพจิต ซึ่งล้วนเป็นปัญหาสุขภาพที่ส่งผลกระทบต่อครอบครัวด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตทำให้คนพิการไม่สามารถดำรงชีวิตได้เท่าเทียบคนปกติ ไม่สามารถเข้าถึงบริการทางด้านการแพทย์ทำให้ขาดการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรถภาพได้อย่างต่อเนื่องและเหมาะสมที่มีผลต่อการประกอบอาชีพ ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มสูงขึ้น และด้านจิตใจรวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล รวมทั้งวิธีการดูแลสุขภาพครอบครัวเมื่อเกิดการเจ็บป่วยเล็กน้อยได้ไม่ดี นอกจากนี้ยังมีการดูแลที่ไม่ถูกต้อง เช่น การดูแลฟื้นฟูคนพิการที่ขาดสมรรถภาพและขาดการรับรู้ข้อมูลข่าวสารรวมถึงผู้พิการขาดโอกาสรับการฟื้นฟูสภาพร่างกายให้สามารถทำกิจวัตรประจำวันและช่วยเหลือตัวเองได้ดีและสิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ผู้พิการพึงได้รับ การปฏิบัติช่วยเหลือฟื้นฟูตัวเองของคนพิการและผู้ดูแลคนพิการในการดูแลคนพิการ ในการดูแลคนพิการเป็นต้น ทำให้เกิดเป็นปัญหาเกิดเป็นปัญหาลุกลามเกิดผลกระทบต่อภาวะน้ำตาลในเลือดสูง น้ำตาลในเลือดต่ำ หรือมีโรคแทรกซ้อนอื่นๆเป็นต้น ซึ่งถ้ามีวิธีการดูแลรักษาที่ไม่ถูกต้องอาจส่งผลกระทบให้เกิดอันตรายหรือทำให้เกิดความพิการมากยิ่งขึ้น ทั้งที่ยังอยู่ในภาวะที่ยังสามารถป้องกันได้ ปัญหาส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากผู้พิการขาดการเรียนรู้ หมกกำลังใจ ท้อแท้ขาดผู้ดูแลที่มีความรู้ ความเข้าใจ และชุมชนยังขาดแนวทางในการให้ความช่วยเหลือฟื้นฟูอย่างแท้จริง และจากข้อมูลพบว่าผู้พิการที่ถูกส่งตัวกลับที่บ้านจากโรงพยาบาล มักเกิดปัญหาว่ามีวิธีการดูแลที่ไม่ถูกต้อง ผู้พิการเกิดความพิการมากขึ้น เกิดแผลกดทับมากขึ้น ต้องเสียเงิน เสียเวลา พากลับไปรักษาตัวต่อที่โรงพยาบาลเหมือนเดิม หรือผู้พิการรายไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากครอบครัวและชุมชน เพื่อเป็นการพัฒนาและฟื้นฟูส่งเสริมบริการทางการแพทย์ให้ผู้ดูแลและคนพิการมีการรวมกลุ่มช่วยเหลือและมีความรู้ในสิทธิพึงได้ของคนพิการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อมีศักยภาพในการปฏิบัติงานฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการอย่างต่อเนื่อง ทั้งพิการรายเดิมที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและผู้พิการที่ยังไม่เคยได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ เพื่อเป็นการส่งเสริมคุณภาพคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น องค์การบริหารสวนตำบลนาประดู่ จึงได้ตระหนักว่า การส่งเสริมให้ผู้ดูแลคนพิการและคนพิการได้มีความรู้ในการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพคนพิการและผู้ดูแลคนพิการเป็นอีกแนวทางที่ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายและส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการในการดูแลคนพิการลดลง จึงได้จัดทำโครงการสานสายใยรักคนพิการ สู่การพัฒนา ขึ้นในพื้นที่ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์จังหวัดปัตตานี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการในชุมชนได้รับการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายโดยญาติหรือผู้ดูแลคนพิการ ได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์ความพิการและประเภทความพิการ 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลคนพิการ คนพิการ ในชุมชนได้ได้มีความรู้ต่อการดูแลสุขภาพของตนเอง และความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อลดอันตรายและลดความพิการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด 3. เพื่อส่งเสริมให้ญาติหรือผู้ดูแลผู้พิการมีส่วนร่วมและเป็นเครือข่ายในการจัดการปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน 4. แกนนำผู้พิการสามารถให้ความช่วยเหลือดูแลผู้พิการกันเอง เพื่อให้ผู้พิการสามารถดำรงชีวิตร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข มีความรู้ในสิทธิที่พึงได้ในผู้พิการและการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้ 5. เพื่อให้ผู้ดูแลและคนพิการได้รับความรู้สามารถนำไปปฏิบัติและฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ครอบครัวผู้พิการและผู้พิการได้เรียนรู้การรับฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน
    2. ผู้พิการมีสุขภาพดีทั้งทางร่างกายและจิตใจสามารถดูแลตัวเองได้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
    3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพคนพิการ
    4. มีอัตราความเสี่ยงของความพิการในพื้นที่ตำบลนาประดู่น้อยลง 5.ผู้พิการมีความรู้เพิ่มขึ้นในการดูแลคนพิการในพื้นที่ตำบลนาประดู่

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการในชุมชนได้รับการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายโดยญาติหรือผู้ดูแลคนพิการ ได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์ความพิการและประเภทความพิการ 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลคนพิการ คนพิการ ในชุมชนได้ได้มีความรู้ต่อการดูแลสุขภาพของตนเอง และความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อลดอันตรายและลดความพิการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด 3. เพื่อส่งเสริมให้ญาติหรือผู้ดูแลผู้พิการมีส่วนร่วมและเป็นเครือข่ายในการจัดการปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน 4. แกนนำผู้พิการสามารถให้ความช่วยเหลือดูแลผู้พิการกันเอง เพื่อให้ผู้พิการสามารถดำรงชีวิตร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข มีความรู้ในสิทธิที่พึงได้ในผู้พิการและการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้ 5. เพื่อให้ผู้ดูแลและคนพิการได้รับความรู้สามารถนำไปปฏิบัติและฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการได้
    ตัวชี้วัด : 1. ครอบครัวผู้พิการและผู้พิการได้เรียนรู้การรับฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน 2. ผู้พิการมีสุขภาพดีทั้งทางร่างกายและจิตใจสามารถดูแลตัวเองได้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน 3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพคนพิการ 4. มีอัตราความเสี่ยงของความพิการในพื้นที่ตำบลนาประดู่น้อยลง 5.ผู้พิการมีความรู้เพิ่มขึ้นในการดูแลคนพิการในพื้นที่ตำบลนาประดู่

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการในชุมชนได้รับการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายโดยญาติหรือผู้ดูแลคนพิการ ได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์ความพิการและประเภทความพิการ 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลคนพิการ คนพิการ ในชุมชนได้ได้มีความรู้ต่อการดูแลสุขภาพของตนเอง และความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อลดอันตรายและลดความพิการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด 3. เพื่อส่งเสริมให้ญาติหรือผู้ดูแลผู้พิการมีส่วนร่วมและเป็นเครือข่ายในการจัดการปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน 4. แกนนำผู้พิการสามารถให้ความช่วยเหลือดูแลผู้พิการกันเอง เพื่อให้ผู้พิการสามารถดำรงชีวิตร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข มีความรู้ในสิทธิที่พึงได้ในผู้พิการและการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้
    5. เพื่อให้ผู้ดูแลและคนพิการได้รับความรู้สามารถนำไปปฏิบัติและฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสานสายใยรักคนพิการ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางรอมือละมามุ ประธานศูนย์พัฒนาครอบครัว ตำบลนาประดู่ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด